รายละเอียดโครงการ |
ชื่อโครงการ : | การเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อกล้วยไม้เหลืองโคราชเพื่อต่อยอดเชิงพานิชย์ คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี |
ปีงบประมาณ : | 2558 |
สถานะโครงการ :
โครงการที่ได้รับอนุมัติ
|
ประเภทกิจกรรม : | วิจัยและพัฒนาต่อยอด |
วัตถุประสงค์ : (โดยย่อ) | |
E-mail : |
arak@sut.ac.th |
กลุ่มเป้าหมาย |
1. กลุมแม่บ้าน / เกษตรกร จำนวน 1 คน
|
จำนวนครั้ง : | 1 (ของการดำเนินการ) |
เริ่มดำเนินโครงการ : |
1 กุมภาพันธ์ 2558 [01/02/2558] |
สิ้นสุดโครงการ : |
30 กันยายน 2558 [30/09/2558] |
คลัสเตอร์ : | เกษตร ประมง ปศุสัตว์ |
KPI : | |
พื้นที่ดำเนินการ : | นครราชสีมา |
รายชื่อผู้สนใจที่ลงทะเบียนออนไลน์ |
|
|
แผนการดำเนินงาน |
กิจกรรม |
ม.ค. |
ก.พ. |
มี.ค. |
เม.ย. |
พ.ค. |
มิ.ย. |
ก.ค. |
ส.ค. |
ก.ย. |
ต.ค. |
พ.ย. |
ธ.ค. |
1. | เตรียมการจัดซื้อจัดหาต้นพันธุ์ดี วัสดุเกษตร วัสดุ
วิทยาศาสตร์ เตรียมอาหารเพาะเลี้ยง
[1/1/2558- 31/1/2558] |
|  | | | |
2. | ขั้นตอนเพาะเลี้ยง
ผลของฮอร์โมนฯ ต่อการเกิด PLBs
- คัดเลือกหน่ออ่อน
- ชักนำให้เกิด PLBs
- บันทึกข้ [1/2/2558- 31/3/2558] |
|  | | | |
3. | ขั้นตอนเพาะเลี้ยง
ผลของฮอร์โมนฯ ต่อการเพิ่ม PLBs
- เพิ่มปริมาณ PLBs
- บันทึกข้อมูลเป็นระยะ
[1/4/2558- 31/8/2558] |
|  | | | |
4. | ขั้นตอนเพาะเลี้ยง
ผลฯ ต่อการเพิ่ม PLBs
- ชักนำ PLBs ไปเป็นต้นพร้อมออกขวด
- บันทึกข้อมูลเป็นระยะ [1/9/2558- 30/9/2558] |
|  | | | |
| | |
| |
|
รายงานความก้าหน้า ครั้งที่ 1 |
รายงานความก้าหน้า ครั้งที่ 2 |
รายงานความก้าหน้า ครั้งที่ 3 |
รายงานความก้าหน้า ครั้งที่ 4 | วันที่รายงาน 24/8/2558 | กลุ่มเป้าหมาย  กองส่งเสริมการเกษตร เทศบาลตำบลสุรนารี ต.สุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา พื้นที่ดำเนินการ ฟาร์มมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มทส. และเทศบาลตำบลสุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา ผลการดำเนินงาน ขั้นตอนการวิจัยและพัฒนาต่อยอดฯ :
1. ศึกษาชนิดและระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนกลุ่มไซโตไคนินต่อการเกิด PLBs ในกล้วยไม้ฯ
1.1 เลือกหน่ออ่อนจากต้นแม่ นำมาฟอกฆ่าเชื้อด้วยสารละลายคลอร็อกซ์ความเข้มข้น 20% นาน 10 นาที จากนั้น นำมาล้างด้วยน้ำที่ผ่านการนึ่งฆ่าเชื้อแล้ว 3 ครั้ง ลอกกาบใบออกทีละชั้นให้เหลือเฉพาะส่วนของลำต้น ตัดเอาส่วนของเนื้อเยื่อให้มีตาติดมาด้วย 1 ตาต่อชิ้น
1.2 นำชิ้นเนื้อเยื่อที่ได้นั้นไปวางเลี้ยงบนอาหารกึ่งแข็งสูตร Murashige and Skoog (1962) โดยใส่ฮอร์โมนในกลุ่มของไซโตไคนิน (ชนิดและระดับแตกต่างกัน) เพื่อชักนำให้เกิด PLBs จากนั้นนำไปเลี้ยงในสภาพให้แสง 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25±1 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง 40 µmol/m2s1 เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์
2. ศึกษาชนิดและระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนกลุ่มไซโตไคนินต่อการเพิ่มจำนวน PLBs ในกล้วยไม้ฯ
2.1 นำ PLBs ที่ได้จากข้อ 1.2) เลี้ยงบนอาหารกึ่งแข็งสูตร Murashige and Skoog (1962) โดยใส่ฮอร์โมนในกลุ่มของไซโตไคนิน(ชนิดและระดับแตกต่างกัน) เพื่อเพิ่มปริมาณของ PLBs ในสภาพให้แสง 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25±1 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง 40 µmol/m2s1 เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์ จากนั้นนำ PLBs ที่ได้ไปเลี้ยงบนอาหารกึ่งแข็งสูตร Vacin and went เพื่อชักนำให้เกิดต้นอ่อน (เลี้ยงในสภาพให้แสง 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25±1 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง 40 µmol/m2s1 เป็นระยะเวลา 10 สัปดาห์
ผลการดำเนินงาน
ณ สิ้นเดือน มิถุนายน 2558 อยู่ในระหว่างการดำเนินการตามขั้นตอน ข้อ 1.2 คือ นำชิ้นเนื้อเยื่อที่ได้นั้นไปวางเลี้ยงบนอาหารกึ่งแข็งสูตร Murashige and Skoog (1962) โดยใส่ฮอร์โมนในกลุ่มของไซโตไคนิน (ชนิดและระดับแตกต่างกัน) เพื่อชักนำให้เกิด PLBs จากนั้นนำไปเลี้ยงในสภาพให้แสง 16 ชั่วโมง ที่อุณหภูมิ 25±1 องศาเซลเซียส ความเข้มแสง 40 µmol/m2s1 เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์
ปัญหา/อุปสรรค - | รายชื่อผู้เข้ารับบริการ : | |
| วันที่รายงาน 29/9/2558 | กลุ่มเป้าหมาย  กองส่งเสริมการเกษตร เทศบาลตำบลสุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา พื้นที่ดำเนินการ พื้นที่ดำเนินการวิจัยและพัฒนาต่อยอดเทคโนโลยี : ฟาร์มมหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
พื้นที่กลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้ใช้เทคโนโลยี : เทศบาลตำบลสุรนารี อ.เมือง จ.นครราชสีมา ผลการดำเนินงาน - จัดซื้อ จัดหา ต้นพันธุ์ดี วัสดุการเกษตรและวัสดุวิทยาศาสตร์ เรียบร้อยแล้ว
- คัดเลือกต้นกล้วยไม้เหลืองโคราชที่มีลักษณะที่ต้องการ
- นำไปเพิ่มปริมาณต้นในสูตรอาหารเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อที่มีชนิดและระดับฮอร์โมนแตกต่างกัน ปัญหา/อุปสรรค ระดับความเข้มข้นของฮอร์โมนที่ได้จากการทดลองสูตรอาหาร ยังไม่เป็นที่พึงพอใจของทีมวิจัย | รายชื่อผู้เข้ารับบริการ : | |
|
|