รายละเอียดโครงการ |
ชื่อโครงการ : | การปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพแบบถุง(Cover lagoon)สำหรับชุมชน คลินิกเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยมหาสารคาม |
ปีงบประมาณ : | 2558 |
สถานะโครงการ :
โครงการที่ได้รับอนุมัติ
|
ประเภทกิจกรรม : | วิจัยและพัฒนาต่อยอด |
วัตถุประสงค์ : (โดยย่อ) | |
E-mail : |
sunantha.l@msu.ac.th,niltaya_khon@yahoo.com,pratin@pdti.kmutt.ac.th |
กลุ่มเป้าหมาย |
จำนวนครั้ง : | 1 (ของการดำเนินการ) |
เริ่มดำเนินโครงการ : |
1 ตุลาคม 2557 [01/10/2557] |
สิ้นสุดโครงการ : |
30 กันยายน 2558 [30/09/2558] |
คลัสเตอร์ : | พลังงาน แก๊ส ไบโอดีเซล |
KPI : | |
พื้นที่ดำเนินการ : | มหาสารคาม |
รายชื่อผู้สนใจที่ลงทะเบียนออนไลน์ |
|
|
แผนการดำเนินงาน |
กิจกรรม |
ม.ค. |
ก.พ. |
มี.ค. |
เม.ย. |
พ.ค. |
มิ.ย. |
ก.ค. |
ส.ค. |
ก.ย. |
ต.ค. |
พ.ย. |
ธ.ค. |
1. | การเตรียมอุปกรณ์ ดำเนินการวิจัยและพัฒนาต่อ
ยอดฯ [1/1/2558- 31/3/2558] |
|  | | | |
2. | การดำเนินการวิจัยและพัฒนาต่อยอดฯ เรื่องการ
ปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพแบบถุง (Cover Lagoon)
ระดับห้องปฎิลบัติการ และสำหรับใช้ในชุมชน [1/4/2558- 31/8/2558] |
|  | | | |
3. | รายงานฉบับสมบูรณ์ [1/9/2558- 30/9/2558] |
|  | | | |
| | |
| |
|
รายงานความก้าหน้า ครั้งที่ 1 |
รายงานความก้าหน้า ครั้งที่ 2 |
รายงานความก้าหน้า ครั้งที่ 3 | วันที่รายงาน 3/7/2558 | กลุ่มเป้าหมาย  กลุ่มเทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานราชการ และชุมชนโดยทั่วไปที่สนใจ จำนวน 5 บ่อ พื้นที่ดำเนินการ 1) การทดลอง ทำการศึกษา ณ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์และเทศบาลตำบลท่าขอนยาง
2) ดำเนินโครงการปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพแบบถุง (Cover Lagoon) สำหรับใช้ในชุมชน
ที่ตำบลเขวาไร่ อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม และตำบลเหล่าดอกไม้ อำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม รวมจำนวน 5 บ่อ
ผลการดำเนินงาน มีการดำเนินการ 2 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 ปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ ระดับห้องปฎิบัติการ ดำเนินการ
1. ศึกษาขี้กลึงเหล็ก รูปร่างแบบเกลียว มาแช่น้ำที่ระยะเวลาต่างกัน คือ 5, 10, 15 และ 20 วัน ตามลำดับ วางไว้ในสภาพที่มีอากาศ ปล่อยไว้จนเกิดสนิม ที่ระยะเวลาต่างกัน คือ 5, 10, 15 และ 20 วัน ตามลำดับ ศึกษาการดูดซับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์
2. การเตรียมแคลเซียมออกไซด์ (CaO) 3 แหล่งคือ แคลเซียมออกไซด์ทางการค้า แคลเซียมออกไซด์จากเปลือกไข่ และแคลเซียมออกไซด์จากเปลือกหอย ตามลำดับ ศึกษาการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพแบบถุง (Cover Lagoon) สำหรับใช้ในชุมชน
ระยะที่ 2 ปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพแบบถุง (Cover Lagoon) สำหรับใช้ในชุมชน กำลังศึกษาการเพิ่มแรงส่งก๊าซชีวภาพ
ปัญหา/อุปสรรค 1. งบประมาณเบิกล่าช้า กระทรวงวิทย์ฯ โอนเงินมาที่มหาวิทยาลัยเร็ว แต่มหาวิทยาลัยดำเนินการเบิกเงินให้โครงการฯ ล่าช้าอีก 3 เดือน เนื่องจากมหาวิทยาลัยต้องทำเรื่องยกเว้นการหักเงิน 10% เข้ามหาวิทยาลัย ส่งผลต่อการดำเนินการวิจัยล่าช้า
| รายชื่อผู้เข้ารับบริการ : | |
|
รายงานความก้าหน้า ครั้งที่ 4 | วันที่รายงาน 30/9/2558 | กลุ่มเป้าหมาย  กลุ่มเทศบาล องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น หน่วยงานราชการ และชุมชนโดยทั่วไปที่สนใจ จำนวน 5 บ่อ พื้นที่ดำเนินการ 1) การทดลอง ทำการศึกษา ณ คณะสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรศาสตร์และเทศบาลตำบลท่าขอนยาง 2) ดำเนินโครงการปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพแบบถุง (Cover Lagoon) สำหรับใช้ในชุมชน ที่ตำบลเขวาไร่ อำเภอโกสุมพิสัย จังหวัดมหาสารคาม และตำบลเหล่าดอกไม้ อำเภอชื่นชม จังหวัดมหาสารคาม รวมจำนวน 5 บ่อ ผลการดำเนินงาน มีการดำเนินการ 2 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 ปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพ ระดับห้องปฎิบัติการ ดำเนินการ
1. ศึกษาขี้กลึงเหล็ก รูปร่างแบบเกลียว มาแช่น้ำที่ระยะเวลาต่างกัน คือ 5, 10, 15 และ 20 วัน ตามลำดับ วางไว้ในสภาพที่มีอากาศ ปล่อยไว้จนเกิดสนิม ที่ระยะเวลาต่างกัน คือ 5, 10, 15 และ 20 วัน ตามลำดับ ศึกษาการดูดซับก๊าซไฮโดรเจนซัลไฟด์
2. การเตรียมแคลเซียมออกไซด์ (CaO) 3 แหล่งคือ แคลเซียมออกไซด์ทางการค้า แคลเซียมออกไซด์จากเปลือกไข่ และแคลเซียมออกไซด์จากเปลือกหอย ตามลำดับ ศึกษาการดูดซับก๊าซคาร์บอนไดออกไซด์ และปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพแบบถุง (Cover Lagoon) สำหรับใช้ในชุมชน
ระยะที่ 2 ปรับปรุงคุณภาพก๊าซชีวภาพแบบถุง (Cover Lagoon) สำหรับใช้ในชุมชน ศึกษาการเพิ่มแรงส่งก๊าซชีวภาพ
ปัญหา/อุปสรรค 1. งบประมาณเบิกล่าช้า กระทรวงวิทย์ฯ โอนเงินมาที่มหาวิทยาลัยเร็ว แต่มหาวิทยาลัยดำเนินการเบิกเงินให้โครงการฯ ล่าช้าอีก 3 เดือน เนื่องจากมหาวิทยาลัยต้องทำเรื่องยกเว้นการหักเงิน 10% เข้ามหาวิทยาลัย ส่งผลต่อการดำเนินการวิจัยล่าช้า
2. การนำตัวอย่างส่งวิเคราะห์ จำเป็นต้องใช้เวลาในการดำเนินการ
| รายชื่อผู้เข้ารับบริการ : | |
|
|
|