จากการทำแคบหมู ปัญหาที่เกิดจากกระบวนการคือเกิดการรอคอยในกระบวนการนั่นหนังหมูทำให้ล้าช้าในการผลิตแคบหมูต่อ 1 ครั้ง วัตถุดิบปัญหาที่พบคือเวลานำเอาหนังหมูขึ้นมาจากการต้มการคดงอทำให้ยากต่อการหันหนังหมู เครื่องจักรปัญหาที่จากวัตถุดิบคือไม่มีเครื่องจักรเพราะไม่มีทุนในการสั่งเครื่องจากการวิเคราะห์หาสาเหตุที่ส่งผลต่อกระบวนการผลิตแคบหมูในขั้นตอนกระบวนการนั่นหนังหมูพบว่าในขั้นตอนหันหนังหมูมีเวลาในการทำงานค่อนข้างล่าช้าในกระบวนการผลิตโดยใช้หลักการ ECRS ในการปรับปรุงกระบวนการผลิตโดยใช้ 3 ตัวคือ EC5 ในการปรับปรุง Eirminate ขจัดขั้นตอนการทำงานมีดังนี้เคลื่อนย้ายหนังหมู. พักหมูให้เย็น, เคลื่อนย้ายมายังที่หันหนังหมูและเคลื่อนย้ายมายังปรุงรสเพื่อขจัดเวลาที่ไม่จำเป็นออกและลดระยะทางในการเดิน Combine โดยรวมขั้นตอนเข้าด้วยกันรวมขั้นตอนเคลื่อนย้ายหนังหมู, พักหมูให้เย็น, เคลื่อนย้ายมายังที่หัน, หันหนังหมูและเคลื่อนย้ายมายังปรุงรสเพื่อลดขั้นตอนการทำงานและเวลาในการเคลื่อนที่ Simplify โดยสร้างเครื่องคั่นหนังหมูช่วยในกระบวนการนั่นหนังหมูเพื่อช่วยลดขั้นตอนของการนำหนังหมูมาหันและการปรุงรสทำให้ง่ายขึ้นลดเวลาลดขั้นตอนจึงหาแนวทางการปรับปรุงวิธีการทำงานเพื่อลดความสูญเปล่าต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นโดยการออกแบบและสร้างอุปกรณ์ช่วยในการหันหนังหมูดังรูป ซึ่งมีหลักการทำงานโดยใช้มอเตอร์เป็นแรงในการขันเคลื่อนใบมีดในการหันหนังหมูโดยใบมีดของหนังหมูจะแบ่งเป็นสองขนาดขนาดที่ 1 3.5 มิลลิเมตรขนาดที่ 2 1.5 มิลลิเมตร (มารถ 1 ขาหันหนังหมูได้ 2 ขนาดพร้อมกัน
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2566 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2023 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates