ชื่อเทคโนโลยี : เครื่องปอก เครื่องคลุกน้้าบ๊วย และขั้นตอนการทำฝรั่งแช่บ๊วย อ่าน : 11,705 ชื่อเจ้าของ : ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
อีเมล์ : agrskr@ku.ชื่อหน่วยงาน :
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ อาคารการเรียนรู้ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ต.กำแพงแสน อ.กำแพงแสน จ.นครปฐม 73140 034-352074, 034-281053-5 ต่อ 3122
เว็ปไซต์ https://clinictechnology.kps.ku.ac.th/
- Currently 2.9/5 Stars.
- 1
- 2
- 3
- 4
- 5
Rated 2.9/5 stars (207 votes cast) You have already voted!
คำอธิบาย :
จากปัญหาการผลิตฝรั่งแช่บ๊วยซึ่งต้องใช้แรงงานคนจานวนมากในการปอกฝรั่ง เพื่อให้ได้ผลผลิตที่สูงขึ้น คณะวิจัยจากภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร โดยการสนับสนุนทุนวิจัยจากกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ได้คิดค้น ประดิษฐ์เครื่องปอกฝรั่งได้สาเร็จ สามารถปอกฝรั่งได้ 10 ผล ต่อครั้ง (ประมาณ 4 กิโลกรัม) โดยใช้เวลาทางานเพียง 1 นาที กาลังผลิตรวม 80 กิโลกรัมต่อชั่วโมงหรือประมาณ 200 ผล เร็วกว่าใช้คนปอก 1 คนถึง 6.7 เท่า ทาให้ผู้ประกอบอาชีพทาฝรั่งแช่บ๊วยลดระยะเวลาในการปอกเปลือกฝรั่งซึ่เป็นขั้นตอนที่ใช้เวลามากในการทาฝรั่งแช่บ๊วย รวมทั้งสามารถปอกผลไม้ทรงกลมอื่นๆ ที่นิยมทาเป็นผลไม้แช่บ๊วย เช่น พุทรา แอบเปิ้ลเขียว ได้ด้วย
เครื่องปอกฝรั่งเพื่อการผลิตฝรั่งแช่บ๊วย ออกแบบโดยใช้ผิวขัดหยาบแบบจานหมุน (Abrasive disc) ติดตั้งในถังปอกฉาบผนังด้วยผิวขัดหยาบ (Abrasive ring) ท้าจากหินกากเพชร แผ่นจานหมุนออกแบบเป็นแผ่นสะแตนเลสกลม ติดครีบเป็นสันนูนตามแนวเส้นผ่านศูนย์กลางจรดขอบจาน ด้านบนแผ่นจานและครีบปูทับด้วยหินกากเพชรทั่วทั้งจาน ที่พื้นถังปอกตรงจุดศูนย์กลางมีช่องเปิดติดตั้งซีลกันรั่วล้อมรอบหัวเพลาขับที่ยื่นมาจากชุดทดรอบของมอเตอร์ขนาด 0.5 แรงม้า ที่ติดตั้งอยู่ด้านล่างของโครงเหล็ก พื้นด้านล่างของถังปอกมีวาล์วน้้าปิดเปิดได้จากภายนอก เพื่อขังน้้าในขณะท้างานและระบายน้้าออกหลังการปอกรวมทั้งเปลือกที่ถูกขัดออก
ผู้สนใจ สอบถามรายละเอียดได้ที่ภาควิชาเกษตรกลวิธาน คณะเกษตร มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ กรุงเทพฯ โทร 02 5613482
นอกจากนี้คณะวิจัยได้พัฒนาเครื่องคลุกน้าบ๊วยเพื่อใช้ร่วมกับเครื่องปอกฝรั่ง ทาให้ทางานได้รวดเร็ว อาศัยแรงงานคนเดียวก็ทางานได้ อัตราสิ้นเปลืองพลังงานน้อย โดยเครื่องปอกใช้พลังงาน 0.25 หน่วยต่อชั่วโมง ถ้าค่าไฟฟ้าหน่วยละ 5 บาท จะมีค่าใช้จ่ายเพียง 1.25 บาทต่อ 80 กิโลกรัม ซึ่งหากใช้คนปอกอัตราค่าจ้าง 2 บาทต่อกิโลกรัม คิดเป็นเงินค่าจ้าง 160 บาท หรือประหยัดค่าใช้จ่ายกว่าใช้คนปอก 128 เท่า ระยะเวลาคืนทุน ประมาณ 4 เดือน ที่อัตราการผลิต 160 กิโลกรัมต่อวัน
นักวิจัย
ผศ.ดร.สุดสายสิน แก้วเรือง / ดร. ศุภกิตต์ สายสุนทร /
ดร. ดลฤดี ใจสุทธิ์ / ดร. รติยา ธุวพาณิชยานันท์ /
นายกฤตภัทร คล้ายรัศมี


เพิ่มโดย : จิรวัฒน์ วงษ์สมาน [2/3/2554] แก้ไขโดย : นายเอกพงศ์ มุสิกะเจริญ[ 14/2/2555]ข้อมูลการรับริการจากระบบ Call Center
Xยังไม่มีข้อมูลผู้รับบริการ แนะนำเทคโนโลยีเพิ่มเติม...X
คำค้นเทคโนโลยีพร้อมถ่ายทอด...
X
วีดีโอเทคโนโลยี
ตู้อบพลังงานแสงอาทิตย์