หน่วยงานรับผิดชอบ :
มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา
สถานะหมู่บ้าน :
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ |
2564 | 300,000|222,850|182,850|40,000 | 2021830159321.pdf | 202112281453481.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=4219] วันที่รายงาน [1/4/2564] | |||
2. ร่วมโครงการส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน แพลตฟอร์มบ่มเพาะหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ (SCl) 21 มกราคม 64 ที่ผ่านมา
ทางผู้รับผิดชอบโครงการ ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน อาจารย์ขนิษฐา พันชูกลาง และอาจารย์สิริชนก อินทะสุวรรณ์ ได้ลงพื้นที่เข้าร่วมประชุมทำความเข้าใจกับชุมชนเพื่อดำเนินงานโครงการ บ่มเพาะหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : หมู่บ้านข้าวพื้นเมือง ทุ่งหวัง ณ พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านที่ 2 ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 25 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=4342] วันที่รายงาน [5/7/2564] | |||
3. ร่วมโครงการส่งเสริมการนำวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน แพลตฟอร์มบ่มเพาะหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ (SCl)
| ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 25 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=4405] วันที่รายงาน [3/9/2564] | |||
4. ร่วมวางแผนปลูกพันธุ์ข้าวพื้นเมือง ณ พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านที่ 2 ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา วันที่ 2 กันยายน 2564 ทางผุ้รับผิดชอบโครงการ ผศ.ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน และผศ.ขนิษฐา พันชูกลาง ร่วมวางแผนปลูกพันธุ์ข้าวพื้นเมืองที่เก็บรวบรวมได้และคัดเลือกพันธุ์ข้าวที่นำไปพัฒนาผลิตภัณฑ์โดยเกษตรกรกลุ่มเป้าหมายมีส่วนร่วมเพื่อดำเนินโครงการหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี : หมู่บ้านข้าวพื้นเมือง ทุ่งหวัง ณ พื้นที่ดำเนินการ หมู่บ้านที่ 2 ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมือง จังหวัดสงขลา
| ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 20 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=4621] วันที่รายงาน [17/11/2564] | |||
เมื่อวันที่ 29 ตุลาคม 2564 ที่ผ่านมา
คณะทำงานโครงการบ่มเพาะหมุบ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีข้าวพื้นเมือง ตำบลทุ่งหวัง จังหวัดสงขลา ลงพื้นที่พัฒนาการผลิตเมล็ตพันธุ์ข้าวพื้นเมืองอินทรีย์คุณภาพดี ณ เกษตรกรในชุมชน หมู่ 2 ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ตามกิจกรรมที่ 1 เรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตเมล็ดพันธุ์ข้าวคุณภาพดี โดยมีวิทยากรจากคณะเทคโนโลยีการเกษตร ผศ.ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน ผศ.ขนิษฐา พันชูกลาง คณะวิทยาการจัดการ ผศ.ภรทิพย์ นิลมณี อาจารย์สิริชนก อินทะสุวรรณ์ และได้รับเกียรติจาก ดร.กัญญณัช ศิริธัญญานักวิจัยอิสระ ร่วมเป็นวิทยากรในการพัฒนาเกษตรกรให้มีความสามารถในการผลิตเมล็ตพันธุ์ข้าวพื้นเมืองอินทรีย์คุณภาพดีและสามารถสร้างช่องทางการตลาดข้าวพื้นเมือง | ค่าใช้จ่าย : 32,200 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 5 [IG=4622] วันที่รายงาน [17/11/2564] | |||
วันที่12 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา
| ค่าใช้จ่าย : 37,000 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 6 [IG=4628] วันที่รายงาน [7/12/2564] | |||
วันที่ 3 ธันวาคม 64 ผศ.ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน ผู้รับผิดชอบโครงการบ่มเพาะหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีข้าวพื้นเมือง ตำบลทุ่งหวัง จังหวัดสงขลา ลงพื้นที่ติดตามผลการดำเนินงานของเมล็ดพันธุ์ข้าวต้นกล้าที่อายุ 45 วัน หลังจากการปักดำแบบรวงต่อแถวในแปลงนา ณ เกษตรกรในชุมชน หมู่ 2 ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 7 [IG=4631] วันที่รายงาน [14/12/2564] | |||
วันที่ 9 ธันวาคม 2564 ที่ผ่านมา | ค่าใช้จ่าย : 38,000 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 8 [IG=4637] วันที่รายงาน [24/12/2564] | |||
เมื่อวันที่ 11 พฤศจิกายน 2564 ที่ผ่านมา คณะทำงานโครงการบ่มเพาะหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีข้าวพื้นเมือง ตำบลทุ่งหวัง จังหวัดสงขลา ลงพื้นที่ถ่ายทอดเทคโนโลยีด้านการบริหารจัดการต้นทุนการผลิตข้าวพันธุ์พื้นเมือง ณ เกษตรกรในชุมชน หมู่ 2 ตำบลทุ่งหวัง อำเภอเมืองสงขลา จังหวัดสงขลา ตามกิจกรรมที่ 5 เรื่องการถ่ายทอดเทคโนโลยีการบริหารจัดการ และการแลกเปลี่ยนหัวข้อต้นทุนการผลิตข้าวพื้นเมือง โดยมีวิทยากรจากคณะวิทยาการจัดการ ผศ.ดร.ภัทรพร ภักดีฉนวน ผศ.ภรทิพย์ นิลมณี และอาจารย์สิริชนก อินทะสุวรรณ์ ร่วมเป็นวิทยากรในครั้งนี้
| ค่าใช้จ่าย : 4,600 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 9 [IG=4639] วันที่รายงาน [24/12/2564] | |||
กิจกรรมเทคโนโลยีการผลิตแป้งข้าว -ส่งวิเคราะห์ผลทางวิทยาศาสตร์ข้าวพื้นเมืองจำนวน 5 สายพันธุ์ ได้แก่ข้าวมโนราห์ ข้าวแก้มหมอ ข้าวฉี่น้อย ข้าวเข็มทอง และข้าวยาเหวย โดยตรวจวิเคราะห์ผล Proximate composition, Amylose, Vitamin E,Vitamin B1, Iron และปริมาณน้ำตาลรีดิวซ์ -ถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตแป้งข้าว วิทยากร ผศ.ขนิษฐา พันชูกลาง ผู้เชี่ยวชาญจากคณะเทคโนโลยีการเกษตร -ออกแบบบรรจุภัณฑ์และฉลากของข้าวบรรจุถุง
| ค่าใช้จ่าย : 71,050 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
2565 | 250,000|198,770||198,770 | ||
รายงานผลการดำเนินงาน |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates