หน่วยงานรับผิดชอบ :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา น่าน
สถานะหมู่บ้าน :
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ |
2564 | 300,000|238,000|238,000|ใช้หมด | 202151194271.pdf | 202110291626531.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=4335] วันที่รายงาน [5/7/2564] | |||
1 กิจกรรมทำแผนและการสำรวจพื้นที่ เวทีเสวนาร่วมกับชุมชน วิธีการดำเนินกิจกรรม จัดเวทีเสวนาระหว่างชุมชน หน่วยงานท้องถิ่น และมหาวิทยาลัยเพื่อหาแนวทางในการพัฒนาหมู่บ้านป่าเมี่ยงด้วย วทน. ผลการดำเนินงาน ผลผลิต ชุมชนได้เส้นทางกิจกรรมการผลิตเมี่ยงครบวงจร และแนวทางพัฒนาป่าเมี่ยงชุมชน ผลลัพธ์ ชุมชนได้แห่งท่องเที่ยวเส้นทางอนุรักษ์ป่าเมี่ยงเชิงนิเวศครบวงจร ผลกระทบ -เส้นทางท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์สามารถรับนักท่องเที่ยวได้มากกว่า 200 คนต่อปี -แนวทางชุมชนจำหน่ายสินค้าผลผลิตจากเมี่ยงได้มากกว่า 3 ชนิด
| ค่าใช้จ่าย : 9,140 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=4336] วันที่รายงาน [5/7/2564] | |||
กิจกรรมการถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดแต่งทรงต้น/เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวใบชา วิธีการดำเนินกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการการแต่งทรงต้น การเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ผลการดำเนินงาน ผลผลิต เกษตรกรได้ความรู้และทักษะการเก็บเกี่ยวและการปฏิบัติหลังการเก็บเกี่ยว ผลลัพธ์ เกษตรกรมีต้นเมี่ยงที่สมบูรณ์ แข็งแรงมากขึ้น ผลกระทบ -คุณภาพและปริมาณใบเมี่ยงมากขึ้น
| ค่าใช้จ่าย : 14,700 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=4340] วันที่รายงาน [5/7/2564] | |||
จัดกิจกรรมถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การทำปุ๋ยน้ำหมักอินทรีย์ ปุ๋ยไส้เดือน วิธีการดำเนินกิจกรรม อบรมเชิงปฏิบัติการการเลี้ยงไส้เดือน และปุ๋ยอินทรีย์ ผลการดำเนินงาน ผลผลิต ชุมชนได้ทักษะการทำปุ๋ยจากการลี้ยงไส้เดือน ผลลัพธ์ ชุมชนนำปุ๋ยไส้เดือนไปใช้ในสวนป่าเมี่ยง และจำหน่ายเป็นปุ๋ยได้ เพื่อการการเพิ่มรายได้และลรายจ่ายครัวเรือน ผลกระทบ -จำนวนอาชีพใหม่ของคนในชุมชนมากกว่า ๓ อาชีพ
| ค่าใช้จ่าย : 23,940 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=4531] วันที่รายงาน [29/9/2564] | |||
ผลการดำเนินงานไตรมาสที่ 4
1. อบรมเชิงปฏิบัติการการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ การทำปุ๋ยนำหมักอินทรีย์ ปุ๋ยไส้เดือน ดำเนินการในวันที่ 7 กรกฎาคม 2564 วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปราโมทย์ ทิมขำ มีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 50 คน
2. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัติการ ฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปเมี่ยง (ชาเมี่ยงหมัก) วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ปิยะนุช รสเครือ ดำเนินการในวันที่ 27 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมจำนวน 30 คน 3. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบ้ติการ ฝึกอบรมและถ่ายทอดเทคโนโลยีการแปรรูปเมี่ยง (สบู่ใบเมี่ยง วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาตราจารย์ ดร.ปิยะนุช รสเครือ ดำเนินการในวันที่ 28 กรกฎาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 30 คน
4. กิจกรรมอบมเชิงปฏิบััติการ การแปรรูปชาเมี่ยงและการพัฒนาบรรจุภัณฑ์และฉลาก วิทยากรโดย ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปิยะนุช รสเครือ ดำเนินการในวันที่ 25 สิงหาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 30 คน
5. กิจกรรมอบรมเชิงปฏิบัิติการ เทคโนโลยีหลังการเก็บเกี่ยวใบชา ดำเนินการในวันที่ 29 สิงหาคม 2564 มีผู้เข้าร่วมอบรมจำนวน 50 คน
| ค่าใช้จ่าย : 190,220 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
2565 | 250,000|211,400||211,400 | 2022322134001.pdf | |
รายงานผลการดำเนินงาน |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates