หน่วยงานรับผิดชอบ :
มหาวิทยาลัยแม่โจ้-แพร่ เฉลิมพระเกียรติ
สถานะหมู่บ้าน :
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ |
2564 | 300,000|200,000|200,000|ใช้หมด | 2021321118391.pdf | 202112301351471.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=4252] วันที่รายงาน [5/4/2564] | |||
รายงานความก้าวหน้าไตรมาสที่ 1
ภาพที่ 1 นายสมชาย ศิริมาตย์ ผู้นำชุมชนเตรียมแปลงปลูกผักกาดขิ่วพันธุ์พื้นบ้านเพื่อขยายพันธุ์ในการปลูก
ภาพที่ 2 แปลงทดลองปลูกผักกาดขิ่วอินทรีย์ในการขยายพันธุ์เพื่อทำผ้าป่าเมล็ดพันธุ์
ภาพที่ 3 การวางแผนเครือข่ายในการขยายการปลูกผักกาดขิ่วอินทรีย์ในพื้นที่บ้านห้วยหาดและบ้านหลักลาย
ภาพที่ 4 สำรวจพื้นที่ในการปลูกผักกาดขิ่วของกลุ่มเครือข่ายที่สนใจเกษตรอินทรีย์ | ค่าใช้จ่าย : 1,200 จำนวนผู้รับบริการ : 15 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=4257] วันที่รายงาน [5/4/2564] | |||
รายงานความก้าวหน้า ไตรมาสที่ 2 ข้าพเจ้า ดร. สมบัติ กันบุตร และ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส ได้เดินทางไปพบปะผู้นำชุมชนและชุมชนบ้านดอนน้ำครก ในการวางแผนงานโครงการหมู่บ้านวาซาบิไทย
รายงานผลโดย อาจารย์ ดร. สมบัติ กันบุตร | ค่าใช้จ่าย : 2,080 จำนวนผู้รับบริการ : 20 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=4604] วันที่รายงาน [1/10/2564] | |||
รายงานความก้าวหน้าไตรมาสที่ 4 ดร. สมบัติ กันบุตร และ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส ได้เดินทางไปจัดอภิปรายเสวนาพบปะผู้นำชุมชนและชุมชนบ้านดอนน้ำครก ในการวางแผนงานโครงการหมู่บ้านวาซาบิไทย เพื่อถ่ายทอดเทคโนโลยีในการยืดอายุผงผักขิ่ว และการผสมโปรตีนจากปลาแว่นแก้ว และสมุนไพรที่มีอยู่ชุมชนบ้านดอนน้ำครก
ภาพที่ 1 การพบปะผู้นำชุมชน สมาชิกกลุ่มในการทำผงผักขิ่ว และผู้อำนวยการ รพ.สต. บ้านดอนน้ำครก
ภาพที่ 2 เป็นการวิเคราะห์ถึงวัตถุดิบ ผักกาดขิ่ว ปลาแว่นแก้ว และสมุนไพร ในการนำผสมเพื่อให้ได้ทั้งผงผักขิ่วและโปรตีน
ภาพที่ 3 การวิเคราะห์วัตถุดิบนอกฤดูกาล ยกตัวอย่างผักกาดขิ่วจะออกผลิตที่ดีในช่วงฤดูหนาว
ภาพที่ 4 พูดถึงคุณภาพของวัตถุดิบนอกฤดูกาล และการวางแผนในการปลูกผักกาดขิ่ว และหาพันธุ์พื้นเมืองจริงๆ | ค่าใช้จ่าย : 22,800 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=4605] วันที่รายงาน [1/10/2564] | |||
ดร. สมบัติ กันบุตร และ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส ได้เดินทางไปจัดอภิปรายเสวนาและสาธิตการทำผงผักขิ่วผสมปลาแว่นแก้ว งาดำ งาขาว น้ำตาล ซอสซีอิ้วขาว ณ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลบ้านดอนน้ำครก ในโครงการหมู่บ้านวาซาบิไทย
ภาพที่ 5 ผู้อำนวยการของ รพ.สต. มาพบปะผู้นำชุมชนและสมาชิกบ้านดอนน้ำครกในการสาธิตทำผลิตภัณฑ์
ภาพที่ 6 ส่วนประกอบการทำผงผักขิ่วโปรตีน งาขาวคั่ว งาดำคั่ว ซีอิ้วขาว น้ำตาลทรายแดง และปลาแว่นแก้วในการทดลองเพื่อได้สัดส่วนตามความต้องการของกลุ่มผู้บริโภค
ภาพที่ 7 อาจารย์ ดร. พัตรเพ็ญ เพ็ญจำรัส ได้พูดถึงผงผักขิ่ว และส่วนผสมในการพัฒนาผลิตภัณฑ์ให้มีความหลากหลายเพื่อตอบโจทย์กลุ่มผู้บริโภคเป้าหมาย
ภาพที่ 8 การใช้บรรจุภัณฑ์ที่เหมาะสมกับผลิตภัณฑ์ การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ให้สะดวกกับกลุ่มผู้บริโภคเป้าหมายเพื่อคงไว้ซึ่งคุณภาพทางโภชนาการของผลิตภัณฑ์ | ค่าใช้จ่าย : 35,000 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 5 [IG=4606] วันที่รายงาน [1/10/2564] | |||
กิจกรรมการสร้างตราสินค้า โลโก้ และสโลแกน
ภาพที่ 1 ผู้นำชุมชนและสมาชิกบางท่านมาเป็นตัวแทนในการสร้างตราสินค้า โลโก้ สโลแกน และพัฒนาบรรจุภัณฑ์
ภาพที่ 2 การออกแบบผลิตภัณฑ์และสิ่งที่ตัวแทนชุมชนบ้านดอนน้ำครกต้องการนำเสนอไปยังกลุ่มเป้าหมาย | ค่าใช้จ่าย : 2,500 จำนวนผู้รับบริการ : 20 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 6 [IG=4607] วันที่รายงาน [1/10/2564] | |||
ประสานและติดตามแปลงสาธิตในการปลูกผักกาดขิ่วนอกฤดูกาล และการเพาะพันธุ์ผักกาดขิ่วพื้นเมือง
| ค่าใช้จ่าย : 2,500 จำนวนผู้รับบริการ : 20 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 7 [IG=4608] วันที่รายงาน [1/10/2564] | |||
การพัฒนาบรรจุภัณฑ์ผงผักขิ่วบ้านดอนน้ำครก
ภาพที่ 1 บรรจุภัณฑ์ที่เป็นกระปุกขวดแก้วเพื่อถนอมผงผักขิ่วและเก็บไว้ได้นาน
ภาพที่ 2 บรรจุภัณฑ์ที่เป็นซองที่สะดวกต่อการพกพาและการรับประทาน
ภาพที่ 3 กล่องบรรจุภัณฑ์ที่ใช้เป็นกล่องข้างนอกสำหรับใส่เป็นซอง | ค่าใช้จ่าย : 15,000 จำนวนผู้รับบริการ : 5 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 8 [IG=4611] วันที่รายงาน [16/10/2564] | |||
กิจกรรมการติดตามแปลงเพาะพันธุ์พื้นเมืองของชุมชนบ้านดอนน้ำครกและการสำรวจเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ในการเก็บข้อมูลเข้าสู่มาตรฐาน
ภาพที่ 1 สำรวจแปลงในการเข้าสู่มาตรฐาน PGS เพื่อเข้าสู่ Organic Thailand Farm
ภาพที่ 2 มีการจัดการบริหารพื้นที่ในแปลงการเพาะปลูกที่ถูกต้องและตามระบบเกษตรอินทรีย์
ภาพที่ 3ที่สูงทีมเราก็หาข้อมูลในการสนับสนุนได้
ภาพที่ 4 สำรวจแล้วเป็นไปตามระบบเกษตรอินทรีย์ได้ | ค่าใช้จ่าย : 5,000 จำนวนผู้รับบริการ : 25 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 9 [IG=4615] วันที่รายงาน [27/10/2564] | |||
กิจกรรมการอบรมการสื่อการตลาดแบบออนไลน์เพื่อสร้างการรับรู้ไปยังผู้บริโภค
ภาพที่ 1 อบรมการใช้มือถือในการทำการตลาดออนไลน์ในการสื่อสารผลิตภัณฑ์จากหมู่บ้านดอนน้ำครก
ภาพที่ 2 การสร้างคอนเทนท์ในการกระตุุุ้นผู้บริโภคในซื้อสินค้า
| ค่าใช้จ่าย : 25,500 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 10 [IG=4616] วันที่รายงาน [27/10/2564] | |||
กิจกรรมการอบรมมาตรฐานระบบเกษตรอินทรีย์
ภาพที่ 1 การลงทะเบียนในการเข้าร่วมโครงการ
ภาพที่ 2 ระบบเกษตรอินทรีย์ผสมกับภูมิปัญญาชาวบ้านในการขับเคลื่อนชุมชนบ้านดอนน้ำครก
ภาพที่ 3 พัฒนาคน พัฒนาผลิตภัณฑ์ในการเข้าใจผลิตภัณฑ์อินทรีย์
ภาพที่ 4 มาตรฐานเป็นการสร้างคุณค่าต่อผลิตภัณฑ์ ผงผักขิ่วโรยกับขนมทองม้วน | ค่าใช้จ่าย : 47,800 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 11 [IG=4629] วันที่รายงาน [7/12/2564] | |||
อบรมการยกมาตรฐานในการเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์
ภาพที่ 1 การอบรมเข้าสู่ระบบเกษตรอินทรีย์ในชุมชน
ภาพที่ 2 การซักถามขบวนการเข้าสู่ของระบบเกษตรอินทรีย์จากเกษตรปลอดภัย
ภาพที่ 3 การลงพื้นที่สำรวจระบบเกษตรอินทรีย์ของชุมชน
ภาพที่ 4 พื้นที่มีการใช้น้ำฝนในการเกษตรอินทรีย์ | ค่าใช้จ่าย : 24,000 จำนวนผู้รับบริการ : 40 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 12 [IG=4630] วันที่รายงาน [8/12/2564] | |||
การดูงานเกษตรอินทรีย์และการแปรรูปสาหร่ายน้ำจืด
ภาพที่ 1 ทีมดูงานการพัฒนาพื้นที่เกษตรอินทรีย์
ภาพที่ 2 การขยายเครือข่ายในการส่งเสริมการปลูกผักกาดขิ่วร่วมกับพระสงฆ์และผู้สูงอายุ
ภาพที่ 3 ดูกระบวนการทำสาหร่ายน้ำจืด (ไก)
ภาพที่ 4 ผลิตภัณฑ์ผงผักกาดขิ่วทำเป็นแผ่นเพื่อกลุ่มเป้าหมายที่เป็นคนรุ่นใหม่
ภาพที่ 5 ผู้ประกอบการสาหร่ายน้ำจืด (ไก) อธิบายขั้นตอนในการทำผลิตภัณฑ์
ภาพที่ 6 ผงผักกาดขิ่วจะพัฒนาให้เป็นแผ่นในการเจาะกลุ่มเป้าหมายที่เป็นคนรุ่นใหม่ | ค่าใช้จ่าย : 16,620 จำนวนผู้รับบริการ : 28 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates