หน่วยงานรับผิดชอบ :
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
สถานะหมู่บ้าน :
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ | ||||||||||||
2560 | 300,000|300,000|300,000|ใช้หมด | 20176161113241.pdf | 20171121130171.pdf | ||||||||||||
รายงานผลการดำเนินงาน | |||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=2224] วันที่รายงาน [5/4/2560] | |||||||||||||||
วันที่ 29 มีนาคม 2560 คลินิกเทคโนโลยีฯ ม.อ. ได้รับแจ้งเงินโอน (งบประมาณ) จาก สป.วท. ปัจจุบัน คลินิกเทคโนโลยี สำนักวิจัยฯ ม.อ. กำลังดำเนินการขออนุมัติเบิกจ่ายและตัดโอนงบประมาณให้ต้นสังกัดของเจ้าของโครงการ" | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : การโอนงบประมาณล่าช้า แนวทางแก้ไข : การแจ้งผลโครงการฯ ล่าช้า ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=2249] วันที่รายงาน [16/6/2560] | |||||||||||||||
ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=2324] วันที่รายงาน [4/7/2560] | |||||||||||||||
ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหรายงานความก้าวหน้า
13/03/2560
31/03/2560 รวม 19,040 น ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 19,040 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=2325] วันที่รายงาน [4/7/2560] | |||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้า 2,500
21/04/2560 7,300
27/04/2560 11,200
11,540
| ค่าใช้จ่าย : 32,540 จำนวนผู้รับบริการ : 40 ปัญหาอุปสรรค : เกษตรกรขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องปุ๋ยอินทรีย์ เข้าใจไม่ถูกตามหลักการวิทยาศาสตร์ แนวทางแก้ไข : จัดอบรมถ่ายทอดความรู้เรื่องปุ๋ยอินทรีย์และการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ แทรกทักษะการเลือกใช้และการนำไปใช้ประโยชน์ในแปลงจริง ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 5 [IG=2326] วันที่รายงาน [4/7/2560] | |||||||||||||||
ระบุ : ใคร ทำอะ21/04/2560 | ค่าใช้จ่าย : 9,550 จำนวนผู้รับบริการ : 9 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 6 [IG=2327] วันที่รายงาน [4/7/2560] | |||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้า 45,300
31/05/2560
11,540 | ค่าใช้จ่าย : 56,840 จำนวนผู้รับบริการ : 40 ปัญหาอุปสรรค : เกษตรกรขาดความรู้ความเข้าใจเรื่องการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ แนวทางแก้ไข : ส่งเสริมถ่ายทอดและสาธิตวิธีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 7 [IG=2473] วันที่รายงาน [15/9/2560] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่ 4อบรมการปลูกผักปลอดภัยโดยชีววิธี พร้อมเยี่ยมเกษตรกรและประเมินผลการผลิตปุยอินทรีย์ วัน พุธ ที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2560 ณแปลงเกษตรกรบ้านกระอาน ตำบลท่าม่วง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา
อบรมการปลูกผักโดยชีววิธี
ในการอบรมครั้งนี้ มีนักเรียนโรงเรียนบ้านกระอาน เข้าร่วมอบรมด้วยทั้งหมด 45 คน | ค่าใช้จ่าย : 75,400 จำนวนผู้รับบริการ : 48 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 8 [IG=2490] วันที่รายงาน [19/9/2560] | |||||||||||||||
เก็บตัวอย่างดินเพื่อทำการวิเคราะห์ในภาคสนาม และส่งวิเคราะห์ในห้องปฏิบัตการเพื่อเปรียบเทียบผล และแนะนำการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินให้แก่เกษตรกร
อธิบายหลักการและวิธีการเก็บตัวอย่างดินเพื่อทำการวิเคราะห์
| ค่าใช้จ่าย : 35,000 จำนวนผู้รับบริการ : 48 ปัญหาอุปสรรค : เกษตรกรไม่เข้าใจหลักการเก็บตัวอย่างดิน แนวทางแก้ไข : อธิบายความสำคัญของการเก็บตัวอย่างดินเพื่อทำการวิเคราะห์ ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 9 [IG=2510] วันที่รายงาน [25/9/2560] | |||||||||||||||
ติดตามผลการดำเนินโครงการ -เยี่ยมแปลงเกษตรกร -พร้อมสอบถามความต้องการเพิ่มเติมเพิ่มเสริมในโครงการในปีที่ 2 -จัดทำแบบประเมินผลการดำเนินงาน ตามแบบฟอร์มโครงการ -ติดตามผลการผลิตปุ๋ยและให้คำแนะนำอื่นๆที่เป็นประโยชน์แก่เกษตรกร -จัดทำรายงาน
| ค่าใช้จ่าย : 71,630 จำนวนผู้รับบริการ : 58 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
2561 | 250,000|250,000|250,000|ใช้หมด | 2018226113181.pdf | 2018117108411.pdf | ||||||||||||
รายงานผลการดำเนินงาน | |||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=2697] วันที่รายงาน [5/4/2561] | |||||||||||||||
คลินิกเทคโนโลยี ฯ ม.อ. ได้รับแจ้งการโอน งบประมาณ เมื่อ 27 มีนาคม 2561 จาก สป.วท. ขณะนี้อยู่ในช่วงตัดโอนให้กับคณะต้นสังกัด | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=2768] วันที่รายงาน [30/6/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่1ติดต่อประสานงานผู้นำชุมชนหมู่บ้านเทคโนโลยีการผลิตปุยอินทรีย์ วันจันทร์ที่ 16ตุลาคม พ.ศ. 2560 ณโรงเรียนบ้านกระอานตำบลท่าม่วง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา
รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการ นายอุสมาน เล๊าะและ และนางสาวปรารถนา อันตะมณี ได้ประสานงานผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้ากลุ่ม และสมาชิกกลุ่ม เพื่อจัดอบรมและแจ้งวัตถุประสงค์ของโครงการต่อเนื่องปีที่ 2 และสอบถามความต้องการของกลุ่มในปีที่ 2 เพิ่มเติม โดยสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สป.วท.) การดำเนินดำเนินโครงการหมู่บ้านเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ปีที่ 2เพื่อยกระดับกลุ่มเกษตรกรให้เกิดความร่วมมือกันในการดำเนินกิจกรรมการผลิตปุ๋ยอินทรีย์เพื่อใช้ในนาข้าวและใช้ในการปลูกพืชผักสวนควรได้อย่างต่อเนื่อง และอบรมการใช้ชีวภัณฑ์ Bacillus magatirium ซึ่งเป็นเทคโนโลยีหลักที่จะถ่ายทอดในปีที่ 2 ให้แก่เกษตรกร โดยอธิบายประโยชน์และแนะนำวิธีการใช้ชีวภัณฑ์ Bacillus magatirium ในการควบคุมโรคกาบใบแห้ง และมีเกษตรกรจำนวน 55 ราย เข้าร่วมกิจกรรมในครั้งนี้
| ค่าใช้จ่าย : 15,000 จำนวนผู้รับบริการ : 55 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=2769] วันที่รายงาน [30/6/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่2การประเมินหมู่บ้านเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ปีที่1 วันจันทร์ที่ 18พฤศจิกายน พ.ศ. 2560 ณศาลาอเนกประสงค์ประจำหมู่บ้าน บ้านกระอาน ม.4ตำบลท่าม่วง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา
จากการประเมินโครงการในปีที่ 1 ผลการดำเนินโครงการเป็นที่พอใจ โดยคณะกรรมการได้เสนอแนะให้ปรับปรุงเรื่องความมีวินัยของเกษตรกร โดยเฉพาะการจดบันทึกข้อมูลต่างๆในการดำเนินกิจกรรม เพื่อให้เป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนวิธีการที่เหมาะสมกับสภาพของพื้นที่ หมายเหตุ พร้อมด้วยเกษตรกแนะนำแปลงสาธิตที่จะเป็นแปลงนำร่อง
| ค่าใช้จ่าย : 12,000 จำนวนผู้รับบริการ : 80 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=2770] วันที่รายงาน [30/6/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่3ติดต่อประสานงานผู้นำชุมชนหมู่บ้านเทคโนโลยีการผลิตปุ๋ยอินทรีย์ วัน จันทร์ ที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2560 ณโรงเรียนบ้านกระอานตำบลท่าม่วง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา
รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการ มอบหมายให้นายอุสมาน เล๊าะและ และนางสาวปรารถนา อันตะมณี ประสานงานผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้ากลุ่ม และสมาชิกกลุ่ม เพื่ออบรมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน และชี้แจงผลการวิเคราะห์ดินที่เกษตรส่งตัวอย่างให้ดำเนินการวิเคราะห์ พร้อมอธิบายการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินหรือในอัตราที่แนะนำ โดยมีเกษตรส่งดินวิเคราะห์ ดังนี้
| ค่าใช้จ่าย : 25,000 จำนวนผู้รับบริการ : 55 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 5 [IG=2771] วันที่รายงาน [30/6/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่4ติดตามผลการดำเนินกิจกรรมหลังประสบปัญหาน้ำท่วม วัน พุธ ที่ 20 ธันวาคม พ.ศ. 2561 ณโรงเรียนบ้านกระอานตำบลท่าม่วง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา
รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการ มอบหมายให้นายอุสมาน เล๊าะและ และนางสาวปรารถนา อันตะมณี ประสานงานผู้ใหญ่บ้าน หัวหน้ากลุ่ม และสมาชิกกลุ่ม เพื่อติดตามผลการปลูกข้าวและปัญหาที่ประสบ จากการสอบถามหลังประสบปัญหาน้ำท้วมได้ทราบถึงความเสียหายของพื้นที่ปลูกข้าวในบางแปลงของแปลงเกษตรกรที่ร่วมโครงการ
| ค่าใช้จ่าย : 15,000 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : น้ำท่วมแปลง ต้นข้าวเสียหาย แนวทางแก้ไข : ดำนำซ่อม แนะนำการใช้ชีวภัณฑ์ ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 6 [IG=2772] วันที่รายงาน [30/6/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่5ติดต่อประสานงานผู้นำชุมชนหมู่บ้านเทคโนโลยีการผลิตปุยอินทรีย์ วัน เสาร์ ที่ 6มกราคม พ.ศ. 2561 ณโรงเรียนบ้านกระอานตำบลท่าม่วง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา
| ค่าใช้จ่าย : 45,000 จำนวนผู้รับบริการ : 80 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 7 [IG=2948] วันที่รายงาน [22/9/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่6ประสานงานผู้นำชุมชนหัวหน้ากลุ่ม เพื่อเก็บตัวอย่างข้าว วันจันทร์ที่ 11 - 13 มีนาคม พ.ศ. 2561 ณแปลงสาธิตเกษตรกร บ้านกระอาน ม.4 ตำบลท่าม่วง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา
รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการ มอบหมายให้ นายอุสมาน เล๊าะและ และนางสาวปรารถนา อันตะมณี ดำเนินการพบเกษตรกรเจ้าของแปลงสาธิตพร้อมด้วยหัวหน้ากลุ่ม พร้อมด้วยลงพื้นที่เพื่อเก็บตัวอย่างข้าวที่จะนำมาวิเคราะห์ในห้องปฏิบัติการต่อไป
| ค่าใช้จ่าย : 13,000 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 8 [IG=2949] วันที่รายงาน [22/9/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่ 7ประสานงานผู้นำชุมชนหมู่บ้านเทคโนโลยีการผลิตปุยอินทรีย์ วันอาทิตย์ที่ 26สิงหาคม พ.ศ. 2561 ณแปลงสาธิตเกษตรกร บ้านกรระอาน ม.4 ตำบลท่าม่วง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา
รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการ มอบหมายให้ นายอุสมาน เล๊าะและ และนางสาวปรารถนา อันตะมณี พร้อมด้วยนางสาวศศิธร คงทอง ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี ม.สงขลานครินทร์ ดำเนินการลงพื้นที่ พบปะเกษตรกร พร้อมด้วยแนะนำสาธิตการผลิตปุ๋ยอินทรีย์แกสมาชิกกลุ่มรายใหม่ รวมทั้งอธิบายถงึองค์ประกอบของดิน การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน และการนำปุ๋ยอินทรีย์ที่ผลิต ไปใช้ในการปลูกพืชไว้บริโภคในครัวเรือน
| ค่าใช้จ่าย : 38,000 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 9 [IG=2950] วันที่รายงาน [22/9/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่8ประสานงานผู้นำชุมชนหัวหน้ากลุ่มหมู่บ้านเทคโนโลยีการผลิตปุยอินทรีย์ วันศุกร์ ที่ 7กันยายน พ.ศ. 2561 ณโรงเรียนบ้านกรระอาน ม.4 ตำบลท่าม่วง อําเภอเทพา จังหวัดสงขลา
รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการ และนางสาวปรารถนา อันตะมณี ลงพื้นที่พบปะสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวช่อขิงบ้านกระอาน เพื่อสอบถามความก้าวหน้าในการดำเนินกิจกรรมของกลุ่ม และแนะนำการดำเนินกิจกรรมอย่างต่อเนื่อง พร้อมมอบชีวภัณณ์ให้แก่สมาชิกกลุ่มเพื่อนำไปใช้ในขั้นตอนการผลิตข้าวปลอดภัย เช่นการใช้ในการแช่เมล็ดข้าวก่อนหว่านเมล็ดข้าว โดยในวันนี้ (ศุกร์ ที่ 7 กันยายน 2561) เวลา 09.30น. สมเด็จพระเจ้าอยู่หัวทรงพระกรุณาโปรดเกล้าโปรดกระหม่อมให้ พลเอก กัมปนาท รุดดิษฐ์ องคมนตรี ร่วมกับมูลนิธิราชประชานุเคราะห์ในพระบรมราชูปถัมภ์ เชิญเครื่องเขียนพระราชทานมอบแก่นักเรียนผู้ประสบวาตภัย ณ โรงเรียนบ้านกระอาน ทางสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวช่อขิงบ้านกระอาน ได้จัดทำอาหารว่างจากการแปลรูปของของข้าวช่อขิงอีกด้วย
| ค่าใช้จ่าย : 27,000 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 10 [IG=2951] วันที่รายงาน [22/9/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่9ประสานงานหัวหน้ากลุ่ม เพื่อเข้ารับการประเมินปีที่2 วันอาทิตย์ที่ 15กันยายน พ.ศ. 2561
รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการ นายอุสมาน เล๊าะและ และนางสาวปรารถนา อันตะมณี พร้อมด้วยสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวช่อขิงบ้านกระอาน เข้ารับการประเมินโครงการปีที่ 2
| ค่าใช้จ่าย : 10,000 จำนวนผู้รับบริการ : 10 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 11 [IG=2952] วันที่รายงาน [22/9/2561] | |||||||||||||||
กําหนดการครั้งที่10ประสานงานหัวหน้ากลุ่ม เพื่อติดตามผลการนำชีวภัณฑ์ไปใช้ในการแช่เมล็ดข้าว วัน ศุกร์ ที่ 21กันยายน พ.ศ. 2561
รองศาสตราจารย์ ดร.อัจฉรา เพ็งหนู หัวหน้าโครงการ มอบหมายให้นายอุสมาน เล๊าะและ ประสานสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจชุมชนข้าวช่อขิงบ้านกระอาน เพื่อติดตามการนำชีวภัณฑ์ไปใช้ประโยชน์ ก่อนการหว่านเมล็ดข้าว โดยสมาชิกกลุ่มวิสาหกิจข้าวช่อขิงบ้านกระอานได้ทำการคัดเลือกเมล็พันธุ์ข้าวพร้อมถ่ายทอดความรู้แก่ยุวชาวนาโรงเรียนบ้านกระอาน
| ค่าใช้จ่าย : 30,000 จำนวนผู้รับบริการ : 75 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 12 [IG=3039] วันที่รายงาน [30/9/2561] | |||||||||||||||
จัดทำรายงาน สรุปผลการดำเนินงาน แนะนำการปฏิบัติกิจกรรมให้กลุ่มดำเนินการอย่างต่อเนื่อง
| ค่าใช้จ่าย : 20,000 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
2563 | 457,000|248,200|248,200|ใช้หมด | 20204101014401.pdf | |||||||||||||
รายงานผลการดำเนินงาน | |||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=3711] วันที่รายงาน [31/3/2563] | |||||||||||||||
- คณะผู้ดำเนินโครงการได้เข้าไปติดตาม ให้คำปรึกษาและพูดคุยกับกลุ่มชาวนาบ้านกระอานอยู่สม่ำเสมอ - คลินิกเทคโนโลยี ฯ ม.อ. ได้ประสานงานไปยังอาจารย์/นักวิจัย หัวหน้าโครงการ เรื่องปรับแก้ข้อเสนอโครงการ ฯ ตามข้อเสนอแนะจากคณะกรรมการ - คลินิกเทคโนโลยี ฯ ม.อ. จัดทำหนังสือนำส่ง พร้อมแบบตอบรับยืนยัน แผนการเบิกจ่าย และหนังสือยินยอมยกเว้นค่าธรรมเนียมสถาบัน เสนอให้ผู้บริหารมหาวิทยาลัยลงนาม เรียบร้อยแล้ว - อาจารย์/นักวิจัย ได้ดำเนินการปรับแก้ข้อเสนอโครงการตามความเห็นของคณะกรรมการ และปรับแบบฟอร์มจากแผนงาน เป็น แพลตฟอร์ม - เนื่องด้วยสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 (COVID-19) ขณะนี้อาจารย์/นักวิจัยกำลังหาวิธีการ/ปรับรูปแบบในการดำเนินโครงการ ซึ่งอาจส่งผลต่อระยะเวลาในการดำเนินโครงการ | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=3860] วันที่รายงาน [5/7/2563] | |||||||||||||||
ไตรมาส 3 (เมษายน - มิถุนายน 2563) 1. การผลิตปุ๋ยอินทรีย์
ภาพที่ 1 การทำปุ๋ยหมัก(ปุ๋ยอินทรีย์)จากวัสดุเหลือใช้จากแปลงนา วันที่ 3 กันยายน 2562 สมาชิกกลุ่มดำเนินการจัดทำปุ๋ยหมักจากัสดุเหลือใช้ ฟางข้าว แกลบ และ ใบไม้ เพื่อใช้ในกิจกรรมการเพาะกล้าแบบเฉพาะและใช้สำหรับในนาข้าวของกลุ่ม ผลของการผลิตปุ๋ยอินทรีย์จากวัสดุเหลือใช้จากฟางข้าวและวัสดุที่มีในชุมชน โดยเกิดความร่วมมือกันในกลุ่มสมาชิกในการรวมตัวเพื่อดำเนินกิจจกรรม ทำให้ไม่เผาทำลายฟางข้าวลดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม ได้นำปุ๋ยที่ผลิตกลับไปใช้ในนาข้าวทำให้เกิดการหมุนเวียนของธาตุอาหาร และเพิ่มอินทรีย์วัตถุให้ดินเพื่อปรับปรุงดินและทำให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์มากขึ้น อีกทั้งสามารถลดการซื้อปุ๋ยอินทรีย์จากท้องตลาดได้
2.แปลงสาธิต/นำร่องที่ใช้ปุ๋ยอินทรีย์ร่วมกับปุ๋ยเคมี
ภาพที่ 2 การใช้ปุ๋ยในนาข้าว การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน โดยแบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลักดำกล้า 20-30 วัน (25-11-62) ครั้งที่ 2 ก่อนข้าวตั้งท้องหรือประมาณ 110-120 วัน (24-1-63) นับจากวันเพาะเมล็ด ผลของการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน ทำให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยตามคำแนะนำรายแปลง เพื่อจัดการธาตุอาหารให้เหมาะสมกับความต้องการของพืช โดยไม่ใช้ปุ๋ยในปริมาณมากเกิดความจำเป็นซึ่งจะทำให้เป็นพิษต่อพืชและตกค้างในสิ่งแวดล้อมหรือใช้น้อยกว่าความต้องการของพืช เพื่อให้ได้ผลผลิตที่มีทั้งปริมาณและคุณภาพสูง ให้ผลตอบแทนที่คุ้มค่าทางเศรษฐกิจ กลุ่มสมาชิกทำการจัดซื้อปุ๋ยเพื่อมาจำหน่ายกันภายในกลุ่มสมาชิก ทำให้สมาชิกสามารถซื้อปุ๋ยคุณภาพสูงในราคาที่ถูกกว่าทั่วไปได้อีกด้วย
3.ฝึกอบรมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน
ภาพที่ 3 ฝึกอบรมการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินสำหรับข้าวช่อขิง วันที่ 27 ก.ค. 2562 รศ.ดร.อัจฉรา เพ็งหนู และคณะ ได้จัดอบรมเรื่องการใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดิน เพื่อการจัดการนาข้าว แนะนำการวิเคราะห์ดินอย่างง่ายด้วยชุดทดสอบดินภาคสนามของกรมพัฒนาที่ดิน อบรมการเก็บตัวอย่างดินเพื่อเป็นตัวแทนในการนำมาวิเคราะห์ความอุดมสมบูรณ์ของดิน และเพื่อการจัดการธาตุอาหารตามค่าวิเคราห์ดินได้อย่างเหมาะสม พร้อมด้วยอบรมเรื่องการควบคุมศัตรูพืชโดยชีวิธี สำหรับการผลิตข้าวปลอดภัย โดยการใช้ชีวภัณฑ์ B-Rice เพื่อป้องกัน/ควบคุมโรคของข้าว (ภาพที่ 4) และการใช้ Beauveria bassiana เพื่อป้องกัน/ควบคุมแมลงศัตรูข้าว (ภาพที่ 5)
4. ฝึกอบรมการควบคุมศัตรูพืชโดยชีวิธี - การใช้ชีวภัณฑ์ B-Rice (บาซิลลัส เมกาทีเรียม)
ภาพที่ 4 อบรมการใช้ชีวภัณฑ์ B-Rice (บาซิลลัส เมกาทีเรียม) - การใช้ Beauveria bassiana
ภาพที่ 5 อบรมการใช้ Beauveria bassiana
5. ผลิตข้าวโดยใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราะห์ดินและควบคุมศัตรูพืชโดยชีววิธี - การจัดการแปลงนา
ภาพที่ 6 การจัดการแปลงนา - การเตรียมกล้า / การเพาะกล้าแนวใหม่
ภาพที่ 7 การเตรียมการ / การเพาะกล้าแนวใหม่ (1-10-62) - การดำนากล้าต้นเดียว
ภาพที่ 8 การดำนากล้าต้นเดียว / การทำแปลงเมล็ดพันธุ์บริสุทธิ (30-10-62) - การจัดการธาตุอาหารตามค่าวิเคราะห์ดิน - การควบคุมโรคและแมลงศัตรูโดยชีววิธี - การใช้ชีวภัณฑ์ B-Rice - การใช้ Beauveria bassiana | ค่าใช้จ่าย : 185,000 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=4176] วันที่รายงาน [30/9/2563] | |||||||||||||||
5 สิงหาคม 2563
คณะกรรมการติดตามและประเมินจากสำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) นำโดย นายสมศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ ข้าราชการบำนาญ และ นายตรีภพ พินันโสตติกุล นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ และ นางสาวภัททิยา บัวชุม นักวิเคราะห์นโยบายและแผนปฏิบัติการ สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี (สส.) และ ศูนย์ประสานงานกระทรวง อว. ประจำภูมิภาค ภาคใต้ (ศวภ.3) โดย นายจตุรงค์ สินแก้ว นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการ และนายเอกภพ ถาวรจิตร นักจัดการงานทั่วไป พร้อมด้วยคลินิกเทคโนโลยี ฝ่ายพันธกิจวิจัยเพื่อสังคม สำนักวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ (คลินิกเทคโนโลยี ฯ ม.อ.) นำโดย นางสาวศศิธร คงทอง ผู้จัดการคลินิกเทคโนโลยี และ นายธนทรัพย์ ลิ่มปะรังษี ผู้ประสานงานคลินิกเทคโนโลยี ฯ ม.อ. ลงพื้นที่ติดตามความก้าวหน้าการดำเนินโครงการที่ได้รับการสนับสนุนงบประมาณโครงการส่งเสริมการนำ วทน. เพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตและเศรษฐกิจชุมชน ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 ภายใต้แพลตฟอร์มเพิ่มศักยภาพธุรกิจชุมชน (BCE) และบ่มเพาะหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (SCI)
ดำเนินขอขยายเวลา เนื่องด้วยสถานการณ์การระบาดโรค COVID-19 ทำให้ไม่สามารถติดตามผลการดำเนินโครงการ/กิจกรรมได้ตามแผน เพราะไม่สามารถลงพื้นที่เก็บและรวบรวมข้อมูลได้ นอกจากนี้แล้วยังรอผลวิเคราะห์ธาตุอาหารของผลผลิตข้าวช่อ จึงต้องขอขยายเวลาเพื่อรวบรวมข้อมูลวิเคราะห์ธาตุอาหารในผลผลิตข้าว (จากแปลงสาธิต/นำร่อง การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราห์ดิน) | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 23 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||||||||||||||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=4272] วันที่รายงาน [21/4/2564] | |||||||||||||||
ดำเนินการข้อมูลวิเคราะห์ธาตุอาหารในผลผลิตข้าว (จากแปลงสาธิต/นำร่อง การใช้ปุ๋ยตามค่าวิเคราห์ดิน)
| ค่าใช้จ่าย : 63,200 จำนวนผู้รับบริการ : 16 ปัญหาอุปสรรค : แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates