หน่วยงานรับผิดชอบ :
สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา
สถานะหมู่บ้าน : อยู่รอด
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ |
2558 | 250,000|250,000|250,000|ใช้หมด | 201551144181.pdf | 20161201630491.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=1201] วันที่รายงาน [1/4/2558] | |||
| ค่าใช้จ่าย : 12,000 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=1291] วันที่รายงาน [4/7/2558] | |||
1. เดือนมีนาคม – พฤษภาคม 2558 จัดเตรียมต้นกล้าพันธุ์ผักเชียงดาสำหรับทำแปลงต้นแบบการผลิตผักเชียงดาในพื้นที่ 1 งาน และสำหรับนำไปมอบให้สมาชิกกลุ่มปลูกผักเชียงดา จำนวน 38 คน จำนวน 2,500 ต้น 2. วันที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2558 ติดต่อประสานงานเครือข่ายและกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม โดยเน้นการทำงานเชิงบูรณาการหลายหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เช่น สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา สถาบันการเรียนรู้เพื่อปวงชน กำนันตำบลนายาง องค์การบริหารส่วนตำบลนายาง เกษตรตำบลนายาง และเกษตรอำเภอสบปราบ ในเรื่องสถานที่ฝึกอบรมในพื้นที่ วิทยากร จัดหาวัสดุอุปกรณ์และสื่อการอบรม อีกทั้งลงพื้นที่ติดต่อประสานงานเครือข่ายและกลุ่มผู้เข้ารับการอบรม ได้แก่ กลุ่มผู้ปลูกผักเชียงดาบ้านหนองวัวแดง ตำบลนายาง อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง มีผู้เข้าร่วมเวทีเสวนาจำนวน 38 คน เพื่อกำหนดทิศทางและสร้างความเข้าใจร่วมกันในการทำงานให้บรรลุตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้และการประชุมเพื่อหาแนวทางร่วมกันในการอนุรักษ์ผักเชียงดาให้เป็นเอกลักษณ์ของหมู่บ้านต่อไป 3. วันที่ 19 – 21 มิถุนายน พ.ศ. 2558 อบรมเชิงปฏิบัติการ “การพัฒนาเทคโนโลยีการผลิต การดูแลรักษาและการแปรรูปผักเชียงดาแบบมีส่วนร่วมในชุมชน” โดยจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ทางวิชาการจากประสบการณ์การวิจัยและภูมิปัญญาของชุมชนสู่เกษตรกรบ้านหนองวัวแดง ตำบลนายาง อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง และการทำแปลงต้นแบบการผลิตผักเชียงดาในพื้นที่ โดยมีผู้เข้ารับอบรม 38 คน หน่วยงานท้องถิ่น 1 คน 4 การลงพื้นที่ ติดตาม บ่มเพาะ ให้คำปรึกษาในพื้นที่ทุกเดือน | ค่าใช้จ่าย : 160,000 จำนวนผู้รับบริการ : 77 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=1442] วันที่รายงาน [30/9/2558] | |||
การพัฒนาเทคโนโลยีฯ : การจัดทำเรือนเพาะชำเพื่อการขยายพันธุ์และผลิตกล้าผักเชียงดาเพื่อจำหน่าย และขอขยายเวลาดำเนินโครงการ ถึงเดือนธันวาคม 2558 | ค่าใช้จ่าย : 78,000 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
2559 | 250,000|240,000|210,000|30,000 | 20163241032241.pdf | 201727150551.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=1488] วันที่รายงาน [4/4/2559] | |||
1. ชื่อกิจกรรม และวิธีการดำเนินการ 2. ผลการดำเนินการ ผลการประชุมระหว่างคณะผู้รับผิดชอบ เครือข่าย และชุมชนเป้าหมาย เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2559 ณ บ้านหนองวัวแดง มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น 50คน สรุปว่า ในปี 2559 ได้กำหนดกิจกรรมและเป้าหมาย ซึ่งเป็นไปตามข้อเสนอโครงการดังนี้
1. การผลิตและขยายพันธุ์ผักเชียงดา ประกอบด้วย
2. การแปรรูปผักเชียงดาเพื่อเพิ่มมูลค่า จำนวน 1 ชนิด คือ ผักเชียงดาอบแห้ง ซึ่งกลุ่มได้ประสานไปยังเครือข่ายคือสหกรณ์การเกษตรสบปราบและผู้ประกอบการที่อำเภอสันมหาพน จังหวัดเชียงใหม่ เนื่องจากกลุ่มได้ประสานเบื้องต้นในการแปรรูปและจัดส่งให้ทางผู้ประกอบการ แต่ยังขาดสถานที่ผลิตและเครื่องมือ อีกทั้งปีนี้ปัญหาภัยแล้ง ซึ่งอาจกระทบต่อผลผลิตผักเชียงดาที่จะทำการผลิตในปีนี้ | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : ภัยแล้ง แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=1489] วันที่รายงาน [30/9/2559] | |||
1. ชื่อกิจกรรม และวิธีการดำเนินการ
2. ผลการดำเนินการ ผลการประชุมระหว่างคณะผู้รับผิดชอบ เครือข่าย และชุมชนเป้าหมาย เมื่อวันที่ 12 มีนาคม 2559 ณ บ้านหนองวัวแดง มีผู้เข้าร่วมประชุมทั้งสิ้น 50คน สรุปว่า ในปี 2559 ได้กำหนดกิจกรรมและเป้าหมาย ซึ่งเป็นไปตามข้อเสนอโครงการดังนี้
2. การแปรรูปผักเชียงดาเพื่อเพิ่มมูลค่า จำนวน 1 ชนิด คือ ผักเชียงดาอบแห้ง ซึ่งกลุ่มได้ประสานไปยังเครือข่ายคือสหกรณ์การเกษตรสบปราบและผู้ประกอบการที่อำเภอสันมหาพน จังหวัดเชียงใหม่ เนื่องจากกลุ่มได้ประสานเบื้องต้นในการแปรรูปและจัดส่งให้ทางผู้ประกอบการ แต่ยังขาดสถานที่ผลิตและเครื่องมือ อีกทั้งปีนี้ปัญหาภัยแล้ง ซึ่งอาจกระทบต่อผลผลิตผักเชียงดาที่จะทำการผลิตในปีนี้ | ค่าใช้จ่าย : 77,000 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : ภัยแล้ง แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=1723] วันที่รายงาน [3/7/2559] | |||
สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร และภาคีเครือข่าย ได้แก่ ศูนย์วิจัยและพัฒนาการเกษตรลำปาง จังหวัดลำปาง และเกษตรอำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง ได้ร่วมกันจัดฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการแบบชุมชนมีส่วนร่วม หัวข้อการการผลิตผักเชียงดาให้มีมาตรฐานตามระบบการผลิต GAP และการพัฒนาแปลงต้นแบบการผลิตผักเชียงดาที่เหมาะสม ในวันที่ 22 – 23 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ณ บ้านหนองวัวแดง ตำบลนายาง อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง และมอบต้นกล้าพันธุ์ผักเชียงดาให้แก่เกษตรกร รายละ 100 ต้น | ค่าใช้จ่าย : 60,000 จำนวนผู้รับบริการ : 12 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=1724] วันที่รายงาน [3/7/2559] | |||
ลงพื้นที่สำรวจโรคและแมลง และให้คำปรึกษา บ่มเพาะ การนำเอาองค์ความรู้และเทคโนโลยีไปพัฒนาประยุกต์ใช้ โดยลงพื้นที่บ้านหนองวัวแดง ตำบลนายาง อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง ในวันที่ 30 มิถุนายน พ.ศ. 2559 ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 10,000 จำนวนผู้รับบริการ : 13 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 5 [IG=2096] วันที่รายงาน [30/9/2559] | |||
จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ หัวข้อการแปรรูปเชียงดาอบแห้งและบรรจุภัณฑ์ ให้แก่ชุมชนในการขยายผลสู่ลูกข่าย (บ้านกิ่วและบ้านยางอ้อย) ณ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร อำเภอเมืองลำปาง จังหวัดลำปาง ในวันที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2559 ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 39,000 จำนวนผู้รับบริการ : 15 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 6 [IG=2097] วันที่รายงาน [30/9/2559] | |||
.ติดตามให้คำปรึกษาสร้างทักษะความเชี่ยวชาญให้เกษตรกรในชุมชน โดยลงพื้นที่บ้านหนองวัวแดง ตำบลนายาง อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง เดือนละ 1 ครั้ง ดังนี้ ในวันที่ 21 กรกฎาคม, 19 สิงหาคม และ 19 กันยายน พ.ศ. 2559 ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 6,000 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 7 [IG=2098] วันที่รายงาน [30/9/2559] | |||
เข้าร่วมประชุมร่วมกับสำนักงานปลัดกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่อง การประชุมเครือข่ายความร่วมมือเพื่อการถ่ายทอดเทคโนโลยีสู่ชุมชน ประจำปีงบประมาณ 2559 ในวันที่ 8 - 9 สิงหาคม 2559 ณ โรงแรมรามาการ์เด้นท์ กรุงเทพมหานคร ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 8,000 จำนวนผู้รับบริการ : 3 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 8 [IG=2099] วันที่รายงาน [30/9/2559] | |||
จัดนิทรรศการร่วมกับภาคีเครือข่ายและหน่วยงานภายนอก 1. จัดนิทรรศการเรื่องผักเชียงดา งานราชมงคลล้านนาสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา ลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ในวันที่ 17 สิงหาคม 2559 2.จัดนิทรรศการเรื่องผักเชียงดา ในงานวิจัย สิ่งประดิษฐ์ นวัตกรรม และผลงานสร้างสรรค์ Crci ครั้งที่ 3 .ในวันที่ 15 – 16 กันยายน 2559 ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ 3.จัดนิทรรศการเรื่องผักเชียงดา งานขับเคลื่อนโครงการ 1 ตำบล 1 SME เกษตรกรภาคเหนือ ณ ศูนย์แสดงและจำหน่ายสินค้าเซรามิกและหัตถอุตสาหกรรม จังหวัดลำปาง อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ในวันที่ 25 กันยายน 2559 ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 10,000 จำนวนผู้รับบริการ : 200 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
2560 | 250,000|250,000|250,000|ใช้หมด | 20174301511421.pdf | |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=2200] วันที่รายงาน [4/4/2560] | |||
1.การเตรียมการ เช่น การเตรียมต้นพันธุ์ การเตรียมพื้นที่ปลูก ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 25,000 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=2208] วันที่รายงาน [4/4/2560] | |||
ผู้รับผิดชอบโครงการ เข้าร่วมการประชุมชี้แจงผู้รับผิดชอบโครงการหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2560 วันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2560 ณ ศูนย์นิทรรศการและการประชุมไบเทค บางนา กรุงเทพมหานคร ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 6,000 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=2301] วันที่รายงาน [3/7/2560] | |||
ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร 1.การเตรียมการ เตรียมต้นพันธุ์ผักเชียงดาจำนวน 2,000 ต้น เตรียมพื้นที่ปลูกประมาณ 4 งาน 2ประสานชุมชนเพื่อวางแผนการดำเนินงานร่วมกัน และทำการวินิจฉัยการคิดต้นทุนและการตั้งราคาผลิตภัณฑ์ที่แปรรูปจากผักเชียงดา 3 ร่วมกิจกรรมในการประกวดวิสาหกิจชุมชนตัวแทนระดับเขตของภาคเหนือของกลุ่มเกษตรกร โดยนำเสนอผลผลิตที่แปรรูปจากผักเชียงดาที่ทางกลุ่มได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจากสถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร มทร.ล้านนา ขยายผลสู่หมู่บ้านลูกข่าย ณ บ้านนากว้าว หมู่ 4 ต.บ้านกิ่ว อ.แม่ทะ จังหวัดลำปาง ในวันที่ 25 เมษายน พ.ศ. 2560 มีผู้เข้าร่วมประมาณ 60 คน 4 ต่อยอดองค์ความรู้การแปรรูปผักเชียงดา โดยจัดการอบรมเชิงปฏิบัติการ การเพิ่มมูลค่าผักเชียงดาโดยการแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหารว่างเสริมผักเชียงดา ณ สถาบันวิจัยเทคโนโลยีเกษตร อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง ในวันที่ 20 มิถุนายน พ.ศ. 2560 แก่เกษตรกรจำนวน 13 คน 5 ร่วมกิจกรรมกับชุมชนแบบมีส่วนร่วม โดยนำเสนอผลิตภัณฑ์จากผักเชียงดา (ข้าวเกรียบและผักเชียงดาอบแห้ง) แก่ผู้ว่าราชการจังหวัดลำปาง เพื่อเสนอให้เป็นพืชอัตลักษณ์ของจังหวัดลำปาง ขยายผลสู่หมู่บ้านลูกข่าย ณ บ้านนากว้าว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง ในวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2560 เกษตรกรเข้าร่วมประมาณ 60 คน 6 พัฒนาบรรจุภัณฑ์และวิเคราะห์สารสำคัญในผลิตภัณฑ์จากผักเชียงดา 7 จ่ายค่าสาธารณูปโภค ให้หน่วยงาน 10% | ค่าใช้จ่าย : 100,000 จำนวนผู้รับบริการ : 133 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=2302] วันที่รายงาน [3/7/2560] | |||
1 ลงพื้นที่บ้านหนองวัวแดง อำเภอสบปราบ จังหวัดลำปาง สำรวจพื้นที่เพื่อขอรับรองมาตรฐาน GAP ผักเชียงดา เกษตรกรจำนวน 2 ราย และลงพื้นที่บ้านนากว้าว อำเภอแม่ทะ จังหวัดลำปาง สำหรับเตรียมสถานที่ผลิตเพื่อแปรรูปผักเชียงดาเพื่อขอรับรองตามมาตรฐาน อย. ในวันที่ 1 มิถุนายน 2560 | ค่าใช้จ่าย : 21,000 จำนวนผู้รับบริการ : 2 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 5 [IG=2303] วันที่รายงาน [3/7/2560] | |||
ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร ร่วมจัดแสดงนิทรรศการเรื่องผักเชียงดา และนำผลิตภัณฑ์แปรรูปจากผักเชียงดา เช่น ผักเชียงดาอบแห้ง ข้าวเกรียบผักเชียงดา คุกกี้ผักเชียงดา ซึ่งเป็นผลผลิตจากหมู่บ้านแม่ข่ายฯ มาจัดจำหน่ายในงาน “เกษตรสร้างสรรค์ คนลำปางไม่ทิ้งกัน” โครงการส่งเสริมพัฒนาและยกระดับสินค้าเกษตรปลอดภัยได้มาตรฐาน ซึ่งโลโก้ของงานมีรูปผักเชียงดาแสดงสัญลักษณ์ร่วมด้วย ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซาลำปาง จังหวัดลำปาง ระหว่างวันที่ 23 – 27 มิถุนายน พ.ศ. 2560 | ค่าใช้จ่าย : 3,000 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 6 [IG=2304] วันที่รายงาน [3/7/2560] | |||
ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร การศึกษาดูงานเทคโนโลยีทางการเกษตรใหม่ๆ เพื่อให้เกิดแรงบันดาลใจ ที่ บริษัท เจพี นอร์ทเทิร์น ฟาร์ม จำกัด และบริษัท มารุ่งอินดัสทรี จำกัด เป็นสถานที่ดำเนินการเกี่ยวกับการแปรรูปผักเชียงดา เลขที่ 361 ม.2 อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ ในวันที่ 3 มิถุนายน 2560 แก่เกษตรกร 20 คน เครือข่าย 5 คน และกรรมการ 5 คน | ค่าใช้จ่าย : 14,000 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 7 [IG=2614] วันที่รายงาน [29/9/2560] | |||
ทำการประชาสัมพันธ์ และขยายเครือข่ายหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีกับชุมชนใกล้เคียง/อำเภอ/จังหวัด เพื่อพัฒนาไปสู่ระดับ วทน.อำเภอ ได้แก่ 1. ร่วมจัดแสดงนิทรรศการเรื่องผักเชียงดา ซึ่งเป็นผลงานที่นำไปถ่ายทอดให้แก่กลุ่มเกษตร อีกทั้งยังได้นำผลผลิตที่ได้จากการถ่ายทอดเทคโนโลยีมาแสดงและจำหน่าย ในงาน “FARM FRESH FEST 2017 at Central Plaza Lampang” มหกรรมสินค้าเกษตร Lifestyle เพื่อคนรักสุขภาพ ณ ศูนย์การค้าเซ็นทรัลพลาซาลำปาง จังหวัดลำปาง ระหว่างวันที่ 10 – 14 สิงหาคม 2560 2. วันที่ 18 สิงหาคม 2560 คณะทำงานและสมาชิกของโครงการยกระดับคุณภาพชีวิตฯ หมู่บ้านหลวง หมู่ที่ 6 ตำบลโหล่งขอด อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 15 คน เข้าเยี่ยมชมและศึกษาดูงานของหมู่บ้าน ด้านการปลูกผักเชียงดาและการแปรรูปผักเชียงดาที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน 3. ร่วมกิจกรรมเปิดตลาดนัดชุมชนคนลำปาง ในวันที่ 1 เมษายน 2560 โดยนำผลิตภัณฑ์ที่ชุมชนได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีทั้งในส่วนของหมู่บ้านและเครือข่าย เพื่อการประชาสัมพันธ์และการจัดจำหน่าย ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 6,000 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 8 [IG=2615] วันที่รายงาน [29/9/2560] | |||
ส่งวิเคราะห์ข้อมูลคุณภาพผลิตภัณฑ์ในด้านต่างๆ เช่น สารอาหาร คุณค่าทางโภขนาการ และด้านจุลินทรีย์ รวมทั้งพัฒนาการออกแบบบรรจุภัณฑ์และส่งเสริมการทำบรรจุภัณฑ์โดยร่วมกับขุมขนและผู้ประกอบการ
ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 40,000 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 9 [IG=2616] วันที่รายงาน [29/9/2560] | |||
จัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในพื้นที่ แบบมีส่วนร่วมในการบูรณาการองค์ความรู้และเทคโนโลยี ร่วมกับ ชุมชน เครือข่ายและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จำนวน 2 ครั้งคือ วันที่ 5 สิงหาคม 2560 และวันที่ 30 กันยายน 2560
ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 20,000 จำนวนผู้รับบริการ : 80 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 10 [IG=2617] วันที่รายงาน [29/9/2560] | |||
ลงพื้นที่เพื่อการบ่มเพาะ ให้คำปรึกษา รวมทั้งติดตาม ประเมินผล สรุปและเตรียมจัดทำรายงานสมบูรณ์
ระบุ : ใคร ทำอะไร ที่ไหน ได้ผลอย่างไร จำนวนเท่าไหร่(5W 1H) ผลผลิต..ได้อะไร ผลลัพธ์..คืออะไร | ค่าใช้จ่าย : 15,000 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates