หน่วยงานรับผิดชอบ :
มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
สถานะหมู่บ้าน : อยู่รอด
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ |
2555 | 313,440|210,000|11,500|198,500 | 20125231149451.pdf | 20131221311371.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=272] วันที่รายงาน [30/6/2555] | |||
1. การประชุมร่วมกับผู้นำท้องถิ่น ผู้ใหญ่บ้าน และ ทางโครงการดำเนินการประชุมร่วมกับผู้นำท้องถิ่น ผู้ใหญ่บ้าน และอบต. เพื่อแจ้งความเป็นมาและการเข้าดำเนินการของโครงการให้ผู้นำท้องถิ่นทราบ และปรึกษาแนวทางในการปฏิบัติงานของโครงการหมู่บ้านเครือข่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมู่บ้านผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายริมโขง บ้านทุ่งนาเมือง อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยดำเนินการในวันที่ 9 มิถุนายน 2555 ณ ศาลาอยู่ดีมีสุข บ้านทุ่งนาเมือง อำดภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี 2. ออกแบบการสำรวจข้อมูลเพื่อจัดทำแผนกิจกรรมของชุมชนโดยชุมชนมีส่วนร่วม จัดเตรียมบุคลากรก่อนออกสำรวจข้อมูลและเริ่มดำเนินการสำรวจบางส่วนแล้ว 3. จัดเตรียมอบรมเรื่อง การเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแปรรูปฝ้ายอินทรีย์: เครื่องมือเข็นฝ้าย | ค่าใช้จ่าย : 11,500 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : ไม่มี แนวทางแก้ไข : ไม่มี ไฟล์แนบกิจกรรม : 20126302123441.pdf | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=343] วันที่รายงาน [9/8/2555] | |||
การเก็บข้อมูลครัวเรือนของชุมชนบ้านทุ่งนาเมือง ทางโครงการดำเนินการเก็บข้อมูลครัวเรือนของชุมชนบ้านทุ่งนาเมือง เพื่อนำมาจัดทำแผนกลยุทธชุมชนบ้านทุ่งนาเมือง สำหรับนำมาดำเนินงานของโครงการหมู่บ้านเครือข่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมู่บ้านผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายริมโขง บ้านทุ่งนาเมือง อำเภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี การเก็บข้อมูลครั้งนี้มีรายชื่อทั้งหมดดังนี้ | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 47 ปัญหาอุปสรรค : งบประมาณมาล่าช้า เป็นฤดูการทำนา เกษตรกรออกทำนา แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : 201289121711.pdf | ||
2556 | 210,810|200,000|156,560|43,440 | 20131301243121.pdf | 2014351154411.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=693] วันที่รายงาน [5/7/2556] | |||
1. อบมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้าย ทางโครงการได้ดำเนินการออกสำรวจทรัพยากร และความพร้อมในท้องถิ่น ก่อนดำเนินการออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้าย เพื่อเพิ่มมูลค่า และได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้าย ในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ณ ศาลาอยู่ดีมีสุข บ้านทุ่งนาเมือง อำดภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งในการดำเนินการครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวนทั้งสิ้น 16 คน | ค่าใช้จ่าย : 78,280 จำนวนผู้รับบริการ : 16 ปัญหาอุปสรรค : ไม่มี แนวทางแก้ไข : ไม่มี ไฟล์แนบกิจกรรม : 2013752158571.pdf | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=694] วันที่รายงาน [5/7/2556] | |||
1. อบมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้าย ทางโครงการได้ดำเนินการออกสำรวจทรัพยากร และความพร้อมในท้องถิ่น ก่อนดำเนินการออกแบบผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้าย เพื่อเพิ่มมูลค่า และได้จัดการอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง การออกแบบผลิตภัณฑ์จากผ้าฝ้าย ในวันที่ 25 พฤษภาคม พ.ศ. 2556 ณ ศาลาอยู่ดีมีสุข บ้านทุ่งนาเมือง อำดภอโขงเจียม จังหวัดอุบลราชธานี ซึ่งในการดำเนินการครั้งนี้มีผู้เข้าร่วมประชุมจำนวนทั้งสิ้น 16 คน | ค่าใช้จ่าย : 78,280 จำนวนผู้รับบริการ : 16 ปัญหาอุปสรรค : ไม่มี แนวทางแก้ไข : ไม่มี ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=833] วันที่รายงาน [8/10/2556] | |||
แผนการดำเินินงานช่วงขยายเวลาปี 2556 | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : 20131081119531.pdf | ||
2557 | 192,560|192,560|87,720|104,840 | 20149261520331.pdf | 20151030141271.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=1136] วันที่รายงาน [2/10/2557] | |||
1. ประชุมร่วมกับผู้นำท้องถิ่น อบต. ผู้ใหญ่บ้านเพื่อรายงานผลการดำเนินงานโครงการหมู่บ้านเครือข่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี หมู่บ้านผลิตภัณฑ์ผ้าฝ้ายริมโขง บ้านทุ่งนาเมือง อ.โขงเจียม จ.อุบลราชธานี ปี 2557 และหารือแนวทางในการดำเนินงานต่อไป ได้ดำเนินการชี้แจงแผนการดำเนินงานในปีที่ 3 ของโครงการกับกลุ่มสมาชิก เพื่อจะดำเนินการต่อไป โดยแผนการดำเนินการเน้นที่การบริหารจัดการกลุ่ม การสร้างศาลาแห่งการเรียนรู้ 2. จัดกิจกรรมแข่งขันการเข็นฝ้าย ยังไม่ได้ดำเนินการ จะดำเนินการในช่วงเดือนธันวาคม 3. ทำชุดการเรียนรู้เรื่อง ฝ้าย กำลังดำเนินการ (จัดทำร่างองค์ความรู้เรื่อง "ฝ้าย" เพื่อพัฒนาเป็นหลักสูตรท้องถิ่น) 4. การบริหารจัดการด้านการตลาด ประสานวิทยากรจากคณะบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานีเพื่ออบรมการบริหารกลุ่ม, การจัดการการตลาด -ประสานผู้ประกอบการเอกชนเพื่อพัฒนาตลาดผ้าฝ้ายอินทรีย์จำนวน 1 ราย 5. จัดตั้งศาลาแห่งการเรียนรู้ พิจารณาสถานที่เพื่อจัดตั้งศาลาแห่งการเรียนรู้ โดยเน้นสามารถเรียนรู้ได้ตลอดเวลา ขณะรอนำเสนอกลุ่มเพื่อพิจารณาความเหมาะสม 6. การบริหารจัดการเพื่อการดำเนินกิจกรรม การติดตามและการประเมินผลโครงการ กำลังดำเนินการ | ค่าใช้จ่าย : 87,720 จำนวนผู้รับบริการ : 30 ปัญหาอุปสรรค : 1. นักวิจัยได้รับเงินสนับสนุนโครงการช้ามาก (เดือนกรกฎาคม 2557) ทำให้ดำเนินงานล่าช้าและมีเวลาในการดำเนินโครงการสั้น 2. ชุมชนติดภาระกิจการเพาะปลูกประจำปี เช่น ทำนา ปลูกมันสำปะหลัง ทำให้การอบรมไม่สามารถดำเนินการได้ตามแผนที่กำลัง ซึ่งเป็นผลสืบเนื่องมาจากการได้รับเงินล่าช้า แนวทางแก้ไข : นักวิจัยขอขยายเวลาดำเนินโครงการ ไฟล์แนบกิจกรรม : 2014102923261.pdf |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates