หน่วยงานรับผิดชอบ :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสุรินทร์
สถานะหมู่บ้าน : แม่ข่ายต้นแบบ
|
ชื่อวิทยากร ความเชี่ยวชาญ
1. นางกัญญา อ่อนศรี
1.1 การเลี้ยงปศุสัตว์อินทรีย์ (หมูหลุม, ไก่ไข่, ไก่พื้นเมืองลูกผสม)
1.2 การผลิตอาหารสัตว์อินทรีย์
1.3 การปลูกข้าวอินทรีย์
1.4 การแปรรูปเนื้อหมูอินทรีย์
1.5 การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร
2. นายสุนทร อ่อนศรี
2.1 การผสมเทียมสุกร
2.1 การรีดน้ำเชื้อพ่อพันธุ์สุกร
2.3 การเลี้ยงปศุสัตว์อินทรีย์ (หมูหลุม, ไก่ไข่, ไก่พื้นเมืองลูกผสม)
2.4 การผลิตอาหารสัตว์อินทรีย์
3. นายไพรัตน์ ประกอบดี
3.1 การเลี้ยงแม่พันธุ์หมูหลุม
3.2 การผสมเทียมสุกร
4. นายรุน สุตลาวดี
4.1 การปลูกข้าวอินทรีย์
4.2 เศรษฐกิจพอเพียง
4.3 บัญชีครัวเรือน
5. นายเชื่อง ตะนาโส
5. 1 การเลี้ยงแม่พันธุ์หมูหลุม
5.2 การปลูกข้าวอินทรีย์
6. นายสมบัติ คำบุญเหลือ
6.1 การแปรรูปผลผลิตเกษตรอินทรีย์
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
![]() |
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ |
2554 | 485,760|190,000||190,000 | 20132141119381.pdf | |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
2555 | 201,300|200,000|200,000|ใช้หมด | 201243919301.pdf | |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=278] วันที่รายงาน [2/7/2555] | |||
- 20 พ.ค. 2555 ประชุมปรึกษาหารือ และรวมกันวางแผนกับกลุ่มเกษตรกรเพื่อกำหนดแผนดำเนินงานโครงการให้ชัดเจน มีการกำหนดบุคคลที่จะรับผิดชอบในแต่ละด้านที่ชัดเจน เช่น จำนวนผู้เลี้ยงแม่พันธุ์สุกร ไก่ไข่ เป็ดเนื้อ และไก่ลูกผสมพื้นบ้าน ให้สอดคล้องกับจำนวนปศุสัตว์ที่จะผลิตในแต่ละชนิด - 28 - 29 มิถุนายน 2555 ดำเนินการจัดสร้างคอกไก่ไข่อินทรีย์ จำนวน 10 ราย และดำเนินการจัดหาลูกปลา จำนวน 30,000 ตัว สำหรับการปล่อยในนาข้าวอินทรีย์ในช่วงฤดูการทำนาเพื่อให้ปลาโตได้ทันในช่วงเก็บเกี่ยวข้าว - 28 - 29 มิ.ย. 2555 ดำเนินการฝึกอบรม หลักสูตร การเลี้ยงปลาในนาข้าวอินทรีย์ เรื่อง การจัดการเลี้ยงปลาในนาข้าวอินทรีย์ และหลักการเตรียมบ่อปลาในนาข้าวอินทรีย์ ให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติการในพื้นที่ของเกษตรกร จำนวน 50 ราย | ค่าใช้จ่าย : 67,850 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : ไม่มี แนวทางแก้ไข : ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=410] วันที่รายงาน [30/9/2555] | |||
7-8 สิงหาคม 2555 ประชุมปรึกษาหารือ และฝึกอบรมในเรื่องการเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ ณ เครือข่ายกสิกรรมไร้สารพิษละโว้ธานี ตำบลท่าวุ้ง อำเภอท่าวุ้ง จังหวัดลพบุรี และเกษตรกรร่วมฟังการบรรยายการบริหารจัดการฟาร์มสุกร และแปรรูปผลิตภัณฑ์สุกร ณ สถานีวิจัยทับกวาง ตำบลทับกวาง อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี - 25 - 26 สิงหาคม 2555 ดำเนินการจัดสร้างคอกไก่ไข่อินทรีย์ จำนวน 10 ราย และดำเนินการจัดหาลูกไก่ไข่ จำนวน ๖๐๐ ตัวและดำเนินการจัดหาลูกสุกรพ่อแม่พันธ์ จำนวน 6 ตัว สำหรับการเลี้ยงในพื้นที่ของเกษตรกร - 25 - 26 สิงหาคม 2555 ดำเนินการฝึกอบรม หลักสูตร การเลี้ยงไก่ไข่ การจัดการการเลี้ยงลูกไก่ หลักการฟักไข่ ให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจและฝึกปฏิบัติการในพื้นที่ของเกษตรกร จำนวน 50 ราย | ค่าใช้จ่าย : 132,150 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : ไม่มี แนวทางแก้ไข : ไม่มี ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
2556 | 200,000|200,000|200,000|ใช้หมด | 2013128934241.pdf | 2014311131941.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=690] วันที่รายงาน [5/7/2556] | |||
วันที่ 1-2 พฤษภาคม 2556 ดำเนินการฝึกอบมให้เกษตรหมู่บ้านทัพไทย ตำบลทมอ อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ หลักสูตร หลักการเลี้ยงไก่ไข่อินทรีย์ อาหารและการจัดการด้านอาหารเพื่อการเลี้ยงปศุสัตว์อินทรีย์ มีการสาธิต และให้เกษตรกร จำนวน 45 รายฝึกปฎิบัติการทำวัคซีนไก่ไข่ การผสมอาหารสัตว์และการทำอาหารหมัก วันที่ 26 - 28 มิถุนายน 2556 ดำเนินการจัดฝึกอบรมเกี่ยวกับการเพิ่มผลผลิตข้าวหอมมะลิอินทรีย์ด้วยเทคโนโลยีสรรพสิ่ง และการปลูกผักอินทรีย์ในระบบโรงเรือน เพื่อเพิ่มเติมองค์ความรู้ด้านการเกษตรอินทรีย์ของหมู่บ้านปศุสัตว์อินทรีย์ให้มีความหลากหลายในกิจกรรมเกษตรอินทรีย์ และคล้องคล้องกับพื้นฐานเดิมในการประกอบอาชีพการปลูกข้าวอินทรีย์ เพื่อให้การดำเนินโครงการความความสอดคล้องกับกิจกรรมของเกษตรกรในช่วงฤดูฝน ซึ่งมีหลักสูตรการเพิ่มผลผลิตข้าวก้วยปุ๋ยอินทรีย์ และนำหมักชีวภาพ มีการสาธิตและให้เกษตรกรฝึกปฎิบัติการทำปุ๋ยอินทรีย์และนำหมักชีวภาพ จำนวน 50 ราย | ค่าใช้จ่าย : 118,920 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : ไมมี แนวทางแก้ไข : ไม่มี ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=785] วันที่รายงาน [30/9/2556] | |||
1. ดำเนินการฝึกอบรม เรื่องการเลี้ยงพ่อพันธ์และการจัดการ 2. ดำเนินการฝึกอบรม เรื่องเทคนิคการรีดนำเชื้อพ่อพันธ์สุกร 3. ให้เกษตรกรฝึกปฎิบัติ การรีดนำเชื้อพ่อพันธ์สุกร 4. ให้เกษตรกรฝึกปฎิบัติการเตรียมสะละลายนำเชื้อพ่อพันธ์สุกรเพื่อการผสมเทียม | ค่าใช้จ่าย : 81,080 จำนวนผู้รับบริการ : 48 ปัญหาอุปสรรค : ไม่มี แนวทางแก้ไข : ไม่มี ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=866] วันที่รายงาน [13/1/2557] | |||
รายชื่อวิทยากรหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (หมู่บ้านปศุสัตว์อินทรีย์) ชื่อวิทยากร ความเชี่ยวชาญ 1. นางกัญญา อ่อนศรี 1.1 การเลี้ยงปศุสัตว์อินทรีย์ (หมูหลุม, ไก่ไข่, ไก่พื้นเมืองลูกผสม) 1.2 การผลิตอาหารสัตว์อินทรีย์ 1.3 การปลูกข้าวอินทรีย์ 1.4 การแปรรูปเนื้อหมูอินทรีย์ 1.5 การบริหารจัดการกลุ่มเกษตรกร 2. นายสุนทร อ่อนศรี 2.1 การผสมเทียมสุกร 2.1 การรีดน้ำเชื้อพ่อพันธุ์สุกร 2.3 การเลี้ยงปศุสัตว์อินทรีย์ (หมูหลุม, ไก่ไข่, ไก่พื้นเมืองลูกผสม) 2.4 การผลิตอาหารสัตว์อินทรีย์ 3. นายไพรัตน์ ประกอบดี 3.1 การเลี้ยงแม่พันธุ์หมูหลุม 3.2 การผสมเทียมสุกร 4. นายรุน สุตลาวดี 4.1 การปลูกข้าวอินทรีย์ 4.2 เศรษฐกิจพอเพียง 4.3 บัญชีครัวเรือน 5. นายเชื่อง ตะนาโส 5. 1 การเลี้ยงแม่พันธุ์หมูหลุม 5.2 การปลูกข้าวอินทรีย์ 6. นายสมบัติ คำบุญเหลือ 6.1 การแปรรูปผลผลิตเกษตรอินทรีย์ | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
2557 | 244,000|244,000|11,500|232,500 | 2014430148431.pdf | |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=1135] วันที่รายงาน [2/10/2557] | |||
การดำเนินงานในปีนี้มีความล่าช้า จึงไม่เป็นไปตามแผนงาน เนื่องจากปีนี้เป็นปีแรกของการดำเนินงานหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์ฯ ซึ่งต้องดูแลหมู่บ้านลูกข่ายอีก 3 หมู่บ้าน และเป็นหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ฯ ใหม่เช่นกัน และอยู่คนละอำเภอ การดำเนินงานในช่วงแรก คือ การชี้แจงทำความเข้าใจกับสมาชิกในแต่ละหมู่บ้าน ให้เข้าใจต่อโครงการหมู่บ้านวิทยาศาสตร์ฯ ทิศทางการดำเนินงาน หลังจากได้ทำความเข้าใจต่อสมาชิกแต่ละหมู่บ้านแล้ว ได้มอบหมายให้แต่ละหมู่บ้านได้ไปจัดทำแผนการทำงานของแต่ละหมู่บ้าน ว่าจะเน้นไปในทิศทางใด โดยให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีของหมู่บ้านแม่ข่าย เนื่องจากหมู่บ้านแม่ข่าย เป็นหมู่บ้านปศุสัตว์อินทรีย์ ซึ่งมีการเลี้ยงปศุสัตว์อินทรีย์ เช่น หมูหลุมอินทรีย์ ไก่ไข่อินทรีย์ ไก่ลูกผสม 2 สายอินทรีย์ และการเลี้ยงปลาอินทรีย์ จึงอยากให้แต่ละหมู่บ้านได้เลือกทำกิจกรรมที่สอดคล้องกับทรัพยากร และความถนัดของชุมชนด้วย | ค่าใช้จ่าย : 11,500 จำนวนผู้รับบริการ : 80 ปัญหาอุปสรรค : เนื่องจากเป็นปีแรกของการเป็นหมู่บ้านแม่ข่ายวิทยาศาสตร์ฯ จึงต้องสร้างความเข้าใจต่อทิศทางการดำเนินงานทั้งตัวหมู่บ้านแม่ข่ายฯ และหมู่บ้านลูกข่ายฯ ซึ่งอยู่กันคนละอำเภอ กว่าจะนัดหมายประชุมชี้แจงได้พร้อมเพรียงกันทั้ง 3 หมู่บ้าน ต้องใช้เวลาพอสมควร และเมื่อได้มอบหมายให้แต่ละหมู่บ้านได้ไปจัดทำแผนการดำเนินงานของตนเอง ซึ่งต้องใช้เวลานานเช่นกัน ทำให้การดำเนินโครงการไม่เป็นไปตามแผนงานที่วางไว้ อีกทั้งในช่วงปีที่ผ่านมา มาสถานการณ์ทางการเมืองที่ไม่ปกติ จึงส่งผลกระทบต่อการดำเนินโครงการ แนวทางแก้ไข : ได้ทำบันทึกขอขยายเวลาการดำเนินงานไปอีก 6 เดือน ตั้งแต่เดือน ต.ค. 57 - มี.ค. 58 ต่อกระทรวงวิทยาศาสตร์ฯ ซึ่งคาดว่าจะสามารถดำเนินงานได้สำเร็จตามแผนที่วางไว้ ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
2558 | 325,600|250,000|30,380|219,620 | 201510271624311.pdf | |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=1385] วันที่รายงาน [23/9/2558] | |||
| ค่าใช้จ่าย : 30,380 จำนวนผู้รับบริการ : 50 ปัญหาอุปสรรค : ไม่มี แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates