หน่วยงานรับผิดชอบ :
มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตพัทลุง
สถานะหมู่บ้าน :
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ |
2554 | 268,400|187,000||187,000 | 20132121141591.pdf | 20142271028321.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
2555 | 199,100|130,000|40,000|90,000 | 2013351053381.pdf | 2012930172331.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=301] วันที่รายงาน [5/7/2555] | |||
1.สำรวจและรวบรวมของเหลือและของเสียจากการทำกล้วยเมืองลุง ได้แก่ เปลือกกล้วย ผลกล้วยที่ไม่ไ้มาตรฐาน 2.วางแผนการผลิตร่วมกับสมาชิก โดยแบ่งออกเป็น 3 รอบการผลิต 3.จัดซื้อวัสดุอุปกรณ์ในการทำโครงการหมู่บ้านไร้ของเสีย 4.ถ่ายทอดเทคโนโลยีและวิธีการทำให้กับสมาชิกในกลุ่ม และเกษตรกรที่สนใจในการทำปุ๋ยหมักจากเปลือกกล้วย โดยสมาชิกเดิมของกลุ่มกล้วยแขกแก้วหินลาดเป็นวิทยากร | ค่าใช้จ่าย : 30,000 จำนวนผู้รับบริการ : 10 ปัญหาอุปสรรค : -วัตถุดิบในการทำโครงการปุ๋ยหมัก มีปริมาณไม่เพียงพอต่อการทำปุ๋ยหมักในบางครั้ง เนื่องจากผลผลิตออกน้อย -การนัดกลุ่มเกษตรกร ไม่สามารถนัดประชุมได้บ่อย เนื่องจากเกษตรกรมีภารกิจอย่างอื่นมาก แนวทางแก้ไข : -รวบรวมวัตถุดิบในการทำของแต่ละรอบให้มากขึ้น และใช้วัตถุดิบอย่างอื่นเพิ่มมากขึ้น -จัดหากลุ่มตัวแทนในการประชุมแต่ละครั้ง เพื่อถ่ายทอดให้สมาชิกท่านอื่นต่อไป ไฟล์แนบกิจกรรม : 2012751514181.pdf | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=404] วันที่รายงาน [30/9/2555] | |||
หลังจากที่แกนนำกลุ่มกล้วยไข่ ต.เขาปู่ อ.ศรีบรรพต จ.พัทลุงและกลุ่มกล้วยไข่กรอบแก้ว ต.ลาสินธุ์ อ.ศรีนครินทร์ จ.พัทลุง ได้เรียนรู้วิธีการทำปุ๋ยหมัก และเล็งเห็นถึงประโยชน์แล้ว แกนนำได้ชักชวนสมาชิกอื่นๆในหมู่บ้านเข้าร่วมกลุ่มและทำ ปุ๋ยหมักจากวสัดุเหลือทิง้ ต่างๆ โดยการถ่ายทอดเทคโนโลยีและวิธีการท าปุ๋ยหมักจากเปลือกกล้วยและของเสียอื่นๆ ได้ท าในเดือนมีนาคมถึงกนัยายน การถ่ายทอดน้ีไดเ้นน้ ใหแ้กนนา ดา เนินการเองโดยถ่ายทอดใหก้ บั เกษตรกรที่มีความสนใจในการ ผลิตปุ๋ ยหมักเพื่อลดต้นทุนทางการเกษตรและลดการใช้ปุ๋ ยเคมีโดยการจัดประชุมสมาชิกที่สนใจการผลิตปุ๋ ย หมกัเพอ่ืช้ีแจงโครงการและรับฟังความคิดเห็นและความตอ้งการตา่ งๆ จากกลุ่มเก่ียวกบัการกา จดัของเสียใน หมบู่ า้น โดยมีเปลือกกล้วยเศษหญ้าและใบไม้เป็ นหลักในการท าปุ๋ ยหมัก และ สร้างความตระหนักถึง ประโยชน์ของการใช้ปุ๋ ยหมัก และลดการใช้ปุ๋ ยเคมีตลอดจนได้มีการ สาธิตวิธีการผลิตปุ๋ ยหมัก และร่วมวาง แผนการผลิตปุ๋ ยหมักด้วยความร่วมมือร่วมใจจากสมาชิกภายในกลุ่ม | ค่าใช้จ่าย : 10,000 จำนวนผู้รับบริการ : 57 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates