หน่วยงานรับผิดชอบ :
มหาวิทยาลัยราชภัฎราชนครินทร์
สถานะหมู่บ้าน :
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ |
2553 | 560,000|210,000||210,000 | 2012523105341.pdf | |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
2554 | 410,000|160,000||160,000 | 20132111126231.pdf | |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
2555 | 310,000|210,000|210,000|ใช้หมด | 2012523103551.pdf | 201212191420381.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=397] วันที่รายงาน [28/9/2555] | |||
จากผลการดำเนินงานรวบรวมข้อมูลเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ในปี พ.ศ. 2555 ได้ผลการศึกษาดังนี้ ตาราง 1 ผลจาการศึกษาสภาพปัญหาและข้อเสนอแนะ ข้อมูลด้านการตลาด 1. ด้านคุณภาพผลผลิต สภาพปัญหา 1. ขาดความต่อเนื่องในการเข้าถึงความรู้ และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการผลิตมะม่วงให้มีคุณภาพ ข้อเสนอแนะ 1. เผยแพร่และพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีการผลิต การเก็บรักษาผลผลิต 2. จัดตั้งแหล่งรวบรวมมะม่วงทุกสายพันธุ์ไว้เป็นอุทยานการเรียนรู้มะม่วงเพื่อการศึกษาพัฒนาและเพื่อการท่องเที่ยว 2. ด้านราคา สภาพปัญหา 1. เกษตรกรและกลุ่มเกษตรกรในภาคอื่นเข้ามาขายตัดราคาในตลาดชายแดน 2. ราคาตกต่ำในช่วงผลผลิตออกมากตามฤดูกาลผลิต ข้อเสนอแนะ 1. สนับสนุนสมาพันธ์มะม่วงแห่งประเทศไทย จัดตั้งเป็นองค์กรในแต่ละภาค เพื่อดำเนินการบริหารเขตการผลิตและกระจายมะม่วงที่เหมาะสม 2. ให้ความรู้เกษตรกรในการจัดสัดส่วนการผลิตในสวนตามตลาดปลายทาง 3. ด้านเงินทุน สภาพปัญหา 1. ขาดการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สนับสนุนในการปรับปรุงพัฒนาต่อยอดกิจกรรมธุรกิจ 2. เกษตรกรยังมีข้อผูกพันทางการเงินกับผู้ประกอบการค้า เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนในด้านการผลิต ข้อเสนอแนะ 1. เชื่อมโยงการเข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำหรือจัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนา ศักยภาพการผลิตมะม่วง 2. ควบคุมดูแลราคาปัจจัยการผลิตให้มีราคาที่เหมาะสมและยุติธรรม 4. ด้านตลาดซื้อขาย สภาพปัญหา 1. การคัดเกรดมีหลายมาตรฐาน 2. เกณฑ์ตัวชี้วัดคุณภาพมะม่วงต่างกัน 3. ความต้องการของตลาดปลายทางลดลง ข้อเสนอแนะ 1. ควรกำหนดเกณฑ์การคัดเกรดและเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ใช้มาตรฐานร่วมกันตามชนิดสายพันธุ์มะม่วง 2. ตลาดภาคใต้มีความสำคัญกับผลผลิตภาคตะวันออกอย่างมาก ควรได้รับการส่งเสริม 3. ตลาดชายแดน : ควรมีการจัดทำโฆษณาประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์ทางโภชนาการทั้งผลสดและผลิตภัณฑ์มะม่วงเป็นภาษาประจำชาติคู่ค้า 4. ตลาดประเทศคู่ค้าเดิม : ติดตามแก้ไขข้ออุปสรรคกับประเทศคู่ค้าที่มีแนวโน้มนำมะม่วงเข้าลดลง 5. ตลาดประเทศใหม่ : รณรงค์ประชาสัมพันธ์มะม่วงและผลิตภัณฑ์ พร้อมทำการ วิจัยและพัฒนาทดสอบความนิยม 5. ด้านบุคลากร สภาพปัญหา 1. แต่ละห่วงโซ่อุปทานขาดเวทีเชื่อมโยงกันอย่างต่อเนื่องทั้งผู้ผลิต ผู้ค้าและผู้แปรรูป 2. แรงงานที่มีทักษะในการคัดเกรดไม่เพียงพอ ข้อเสนอแนะ 1. ภาครัฐต้องจัดเวทีหรือศูนย์กลางการเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจ การเปิดโลกทัศน์และเพื่อพัฒนาศักยภาพของแต่ละห่วงโซ่อุปทานร่วมกัน 2. ส่งเสริมถึงข้อดีในการรวมกลุ่มเพื่อผลิตและจำหน่าย 3. กระตุ้นจิตสำนึก คุณธรรม จริยธรรมของทุกห่วงโซ่อุปทาน โดยการเน้นความ ซื่อสัตย์ 4. จัดการอบรมเพื่อเสริมทักษะ พัฒนาฝีมือแรงงาน 5. นำเทคโนโลยีด้านการคัดเกรดมาใช้ 6. ด้านหน่วยงานภาครัฐ สภาพปัญหา 1. การเข้าถึงข้อมูลของภาครัฐ 2. ปริมาณการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทั้งการผลิต การเก็บรักษา การแปรรูปนำไปสู่ภาคปฏิบัติได้น้อย ข้อเสนอแนะ 1. ภาครัฐต้องพัฒนาระบบทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงเพื่อเป็นแหล่ง ข้อมูลในการทำสัญญาซื้อขายกับผู้ค้า 2. ควรมีการประมาณการผลิตออกสู่ตลาดเพื่อใช้ในการวางแผนการผลิตของ ผู้ประกอบการ 3. สนับสนุนการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทั้งด้านการผลิต การเก็บรักษาการแปรรูปมะม่วง 7. ด้านโลจิสติกส์ สภาพปัญหา 1. มีการรับซื้อผลมะม่วงดองจากนอกพื้นที่ 2. มีการตีรถเปล่ากลับมาเมื่อส่งสินค้าแล้ว 3. ห้องเย็นสำหรับแช่มะม่วงมีไม่เพียงพอ 4. เกษตรกร พ่อค้าบางส่วน ขาดความรู้ในเรื่องการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและวิธีการเก็บรักษาที่ถูกต้อง ทำให้มีสินค้าถูกตีกลับ ข้อเสนอแนะ 1. ควรส่งเสริมเกษตรกรในพื้นที่ผลิตมะม่วงดองโดยทำในรูปกลุ่มเกษตรกร 2. ควรมีการศึกษาวิจัย เพื่อจัดหามาตรการแก้ไขปัญหาด้านโลจิสติกส์ทั้งระบบ 3. ควรมีการอบรม การบริหารจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและวิธีการเก็บรักษามะม่วงที่มีประสิทธิภาพ ยืดอายุในการเก็บรักษา 4. ควรสนับสนุนเทคโนโลยีที่มันสมัย เช่น ถุงเก็บมะม่วงให้คงคุณภาพดี เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา | ค่าใช้จ่าย : 210,000 จำนวนผู้รับบริการ : 70 ปัญหาอุปสรรค : จากผลการดำเนินงานรวบรวมข้อมูลเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ในปี พ.ศ. 2555 ได้ผลการศึกษาดังนี้ ตาราง 1 ผลจาการศึกษาสภาพปัญหาและข้อเสนอแนะ ข้อมูลด้านการตลาด 1. ด้านคุณภาพผลผลิต สภาพปัญหา 1. ขาดความต่อเนื่องในการเข้าถึงความรู้ และเทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการผลิตมะม่วงให้มีคุณภาพ 2. ด้านราคา สภาพปัญหา 1. เกษตรกรและกลุ่มเกษตรกรในภาคอื่นเข้ามาขายตัดราคาในตลาดชายแดน 2. ราคาตกต่ำในช่วงผลผลิตออกมากตามฤดูกาลผลิต 3. ด้านเงินทุน สภาพปัญหา 1. ขาดการเข้าถึงแหล่งเงินทุนที่สนับสนุนในการปรับปรุงพัฒนาต่อยอดกิจกรรมธุรกิจ 2. เกษตรกรยังมีข้อผูกพันทางการเงินกับผู้ประกอบการค้า เพื่อใช้เป็นทุนหมุนเวียนในด้านการผลิต 4. ด้านตลาดซื้อขาย สภาพปัญหา 1. การคัดเกรดมีหลายมาตรฐาน 2. เกณฑ์ตัวชี้วัดคุณภาพมะม่วงต่างกัน 3. ความต้องการของตลาดปลายทางลดลง 5. ด้านบุคลากร สภาพปัญหา 1. แต่ละห่วงโซ่อุปทานขาดเวทีเชื่อมโยงกันอย่างต่อเนื่องทั้งผู้ผลิต ผู้ค้าและผู้แปรรูป 2. แรงงานที่มีทักษะในการคัดเกรดไม่เพียงพอ 6. ด้านหน่วยงานภาครัฐ สภาพปัญหา 1. การเข้าถึงข้อมูลของภาครัฐ 2. ปริมาณการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทั้งการผลิต การเก็บรักษา การแปรรูปนำไปสู่ภาคปฏิบัติได้น้อย 7. ด้านโลจิสติกส์ สภาพปัญหา 1. มีการรับซื้อผลมะม่วงดองจากนอกพื้นที่ 2. มีการตีรถเปล่ากลับมาเมื่อส่งสินค้าแล้ว 3. ห้องเย็นสำหรับแช่มะม่วงมีไม่เพียงพอ 4. เกษตรกร พ่อค้าบางส่วน ขาดความรู้ในเรื่องการจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและวิธีการเก็บรักษาที่ถูกต้อง ทำให้มีสินค้าถูกตีกลับ แนวทางแก้ไข : จากผลการดำเนินงานรวบรวมข้อมูลเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงที่ได้รับการรับรองมาตรฐาน GAP กลุ่มจังหวัดภาคกลางตอนกลาง ในปี พ.ศ. 2555 ได้ผลการศึกษาดังนี้ ตาราง 1 ผลจาการศึกษาสภาพปัญหาและข้อเสนอแนะ ข้อมูลด้านการตลาด 1. ด้านคุณภาพผลผลิต ข้อเสนอแนะ 1. เผยแพร่และพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีการผลิต การเก็บรักษาผลผลิต 2. จัดตั้งแหล่งรวบรวมมะม่วงทุกสายพันธุ์ไว้เป็นอุทยานการเรียนรู้มะม่วงเพื่อการศึกษาพัฒนาและเพื่อการท่องเที่ยว 2. ด้านราคา ข้อเสนอแนะ 1. สนับสนุนสมาพันธ์มะม่วงแห่งประเทศไทย จัดตั้งเป็นองค์กรในแต่ละภาค เพื่อดำเนินการบริหารเขตการผลิตและกระจายมะม่วงที่เหมาะสม 2. ให้ความรู้เกษตรกรในการจัดสัดส่วนการผลิตในสวนตามตลาดปลายทาง 3. ด้านเงินทุน ข้อเสนอแนะ 1. เชื่อมโยงการเข้าถึงแหล่งเงินทุนดอกเบี้ยต่ำหรือจัดตั้งกองทุนเพื่อพัฒนา ศักยภาพการผลิตมะม่วง 2. ควบคุมดูแลราคาปัจจัยการผลิตให้มีราคาที่เหมาะสมและยุติธรรม 4. ด้านตลาดซื้อขาย ข้อเสนอแนะ 1. ควรกำหนดเกณฑ์การคัดเกรดและเกณฑ์ตัวชี้วัดที่ใช้มาตรฐานร่วมกันตามชนิดสายพันธุ์มะม่วง 2. ตลาดภาคใต้มีความสำคัญกับผลผลิตภาคตะวันออกอย่างมาก ควรได้รับการส่งเสริม 3. ตลาดชายแดน : ควรมีการจัดทำโฆษณาประชาสัมพันธ์คุณประโยชน์ทางโภชนาการทั้งผลสดและผลิตภัณฑ์มะม่วงเป็นภาษาประจำชาติคู่ค้า 4. ตลาดประเทศคู่ค้าเดิม : ติดตามแก้ไขข้ออุปสรรคกับประเทศคู่ค้าที่มีแนวโน้มนำมะม่วงเข้าลดลง 5. ตลาดประเทศใหม่ : รณรงค์ประชาสัมพันธ์มะม่วงและผลิตภัณฑ์ พร้อมทำการ วิจัยและพัฒนาทดสอบความนิยม 5. ด้านบุคลากร ข้อเสนอแนะ 1. ภาครัฐต้องจัดเวทีหรือศูนย์กลางการเรียนรู้เพื่อสร้างความเข้าใจ การเปิดโลกทัศน์และเพื่อพัฒนาศักยภาพของแต่ละห่วงโซ่อุปทานร่วมกัน 2. ส่งเสริมถึงข้อดีในการรวมกลุ่มเพื่อผลิตและจำหน่าย 3. กระตุ้นจิตสำนึก คุณธรรม จริยธรรมของทุกห่วงโซ่อุปทาน โดยการเน้นความ ซื่อสัตย์ 4. จัดการอบรมเพื่อเสริมทักษะ พัฒนาฝีมือแรงงาน 5. นำเทคโนโลยีด้านการคัดเกรดมาใช้ 6. ด้านหน่วยงานภาครัฐ ข้อเสนอแนะ 1. ภาครัฐต้องพัฒนาระบบทะเบียนเกษตรกรผู้ปลูกมะม่วงเพื่อเป็นแหล่ง ข้อมูลในการทำสัญญาซื้อขายกับผู้ค้า 2. ควรมีการประมาณการผลิตออกสู่ตลาดเพื่อใช้ในการวางแผนการผลิตของ ผู้ประกอบการ 3. สนับสนุนการศึกษาวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีทั้งด้านการผลิต การเก็บรักษาการแปรรูปมะม่วง 7. ด้านโลจิสติกส์ ข้อเสนอแนะ 1. ควรส่งเสริมเกษตรกรในพื้นที่ผลิตมะม่วงดองโดยทำในรูปกลุ่มเกษตรกร 2. ควรมีการศึกษาวิจัย เพื่อจัดหามาตรการแก้ไขปัญหาด้านโลจิสติกส์ทั้งระบบ 3. ควรมีการอบรม การบริหารจัดการหลังการเก็บเกี่ยวและวิธีการเก็บรักษามะม่วงที่มีประสิทธิภาพ ยืดอายุในการเก็บรักษา 4. ควรสนับสนุนเทคโนโลยีที่มันสมัย เช่น ถุงเก็บมะม่วงให้คงคุณภาพดี เพื่อยืดอายุการเก็บรักษา ไฟล์แนบกิจกรรม : 201210311115211.pdf |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates