หน่วยงานรับผิดชอบ :
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา พิษณุโลก
สถานะหมู่บ้าน : เข้มแข็งเติบโต
ปีงประมาณ | งบขอ|ได้รับ|ใช้|คงเหลือ | ข้อเสนอโครงการ | รายงานฉบับสมบูรณ์ |
2553 | 300,000|150,000|150,000|ใช้หมด | 201321483031.pdf | |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=27] วันที่รายงาน [9/7/2553] | |||
วันที่ 8 มิถุนายน 2553 ร่วมพิธีเปิดแปลงผักปลอดสารพิษ โดยผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลก ณ กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ เทศบาลตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 10 มิถุนายน 2553 ให้คำปรึกษาและวางแผนแนวทางการผลิตผักพิษและขอมาตรฐาน GAP ณ กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ เทศบาลตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 22 มิถุนายน 2553 ศึกษาดูงานและควบคู่กับการฝึกอบรมเรื่องการปลูกผักปลอดสารพิษ ณ ไร่ทนเหนื่อย ตำบลหนองแขม อำเภอโคกสำโรง จังหวัดลพบุรี จำนวน 20 คน มีระดับความพึงพอใจร้อยละ 89.50 วันที่ 29 มิถุนายน 2553 ทำการเปิดตลาดผักสีเขียว ตลาดบ้านคลอง อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก โดยผู้ว่าราชการจังหวัดพิษณุโลกและนายกเทศมนตรี จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 30 มิถุนายน 2553 เปิดตลาดผัก ที่มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก วันที่ 2 กรกฎาคม 2553 จัดตั้งกลุ่มให้เป็นศูนย์การเรียนรู้ด้านปลูกผักปลอดสารพิษ ภายใต้การผลิตจากระบบ GAP(Good Agricultural Practice) เพื่อเป็นชุมชนต้นแบบ ณ แปลงผักเทศบาลตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก วันที่ 5 กรกฎาคม 2553 การผลิตน้ำหมักชีวภาพจากพืชสดและการทำปุ๋ยหมัก ณ แปลงผักเทศบาลตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก จำนวนผู้เข้ารับการฝึกอบรม 30 คน | ค่าใช้จ่าย : 63,263 จำนวนผู้รับบริการ : ปัญหาอุปสรรค : ปัญหาและอุปสรรค 1.ขาดความรู้ในการวางแผนการผลิต 2.ขาดความรู้ด้านการแก้ไขโรคและแมลง 3.ขาดความรู้ด้านการแผนการปลูกผักตามฤดูกาล แนวทางแก้ไข : แนวทางแก้ไข 1.ให้คำปรึกษาด้านการผลิตผักปลอดสารพิษ 2.ให้คำปรึกษาด้านการทำน้ำหมักชีวภาพในการไล่แมลงปัญหา ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=75] วันที่รายงาน [30/9/2553] | |||
วันที่ 15 กรกฏาคม 2553 จัดประชุมกลุ่มเครือข่ายเพื่อวางแผนการดำเนินงานการผลิตผักปลอดสารและแผนการตลาด ณ เทศบาลตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 30 คน วันที่ 22 กรกฏาคม 2553 จัดการฝึกอบรมการผลิตเตาเผาถ่านน้ำส้มควันไม้ เพื่อนำมาใช้ในกระบวนการผลิตผักปลอดสารพิษ ณ แปลงผักตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 30 คน วันที่ 17-18 สิงหาคม 2553 จัดนิทรรศการการปลูกผักปลอดสารพิษ ในงานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ณ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก วันที่ 30 สิงหาคม- 3 กันยายน 2553 จัดการฝึกอบรมผู้ตรวจปลอดสารพิษ ภายใต้การผลิตจากระบบ GAP(Good Agricultural Practice)โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เขตพื้นที่พิษณุโลก ร่วมกับสำนักวิจัยและการพัฒนาเกษตรเขตที่2 ซึ่งได้นำกลุ่มเข้ารับการฝึกอบรมผู้ตรวจเบื้องต้น จำนวน 5 คน วันที่ 8 กันยายน 2553 จัดการฝึกอบรมหลักสูตร การจัดการแปลงปลูกผักเพื่อผลิตผักปลอดสารพิษ ด้วยชีววิธี ณ แปลงผักตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 30 คน | ค่าใช้จ่าย : 68,758 จำนวนผู้รับบริการ : ปัญหาอุปสรรค : 1.ในช่วงหน้าฝนผักจะฉ่ำน้ำและเกิดโรครากเน่า 2.ผักมีการผลิตในแหล่งอื่นและมารวมกันทำให้มีราคาถูก 3.กลไกการตลาดยังไม่กว้างและแหล่งรองรับผักยังไม่มีการขยายตัว แนวทางแก้ไข : 1.ในช่วงหน้าฝนจะยกร่องให้สูงขึ้น 2.ได้ประสานงานกับหน่วยงานราชการอื่นเพื่อนำผักเข้าไปขายเพื่อช่วยเหลือกลุ่มผู้ประกอบการ ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=76] วันที่รายงาน [30/9/2553] | |||
เนื่องจากงบประมาณในการดำเนินงานมาล่าช้า ทำให้การประเมินผลยังไม่สามารถเห็นผลได้ชัดเจน และมีการดำเนินงานอยู่ ดังนั้นโครงการหมู่บ้านปลูกผักปลอดสารพิษ จึงขอขยายเวลาในการดำเนินงาน ออกไปอีก 3 เดือน คือช่วง 1 ตุลาคม-31 ธันวาคม 2553 รายชื่อผู้เข้าร่วมโครงการหมู่บ้านปลูกผักปลอดสารพิษ แปลงผักตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก ลำดับ ชื่อ-สกุล ที่อยู่ 1นายวอน เที่ยงตรง 24/3 ม.3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ. พิษณุโลก 2นายรอน สุขเมือง 43/1 ม.3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ. พิษณุโลก 3นายแดง เสือเสน 43/4 ม. 3 ต.พันเสา อ. บางระกำ จ. พิษณุโลก 4นายบุญทอง วิชัย 49/2 ม.4 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 5นายพิเชษฐ์ ดอนอ่ำพวก 92 ม.4 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 6นางกัลยา นาคเจือทอง 175 หมู่ 7 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 7นางแวว ทรัพย์มึน 24/4 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 8นางสำราญ มีจันทร์ 70/1 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 9นางมาลี ยอดเกตุ 10/1 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 10นางคลึง คงเก็ด 14/1 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 11นางสาวนงนุช ประชุม หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 12นางรุจิรา เกิดทอง 24/1 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 13นางฑุรัตน์ บุญสืบ 38/1 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 14นางแป้ง ทองงามดี 109/1 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 15นางรุ่งภพ จีนพงษ์ 30/3 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 16นางสายฝน จีนพงษ์ 30/1 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 17นางจำเรียง ยอดเกตุ 103 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 18นางวันเพ็ญ ศรีบัว 79 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 19นางแดง เพ็ชรคง 24/3 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 20นายจำรอง บุญสืบ 32/2 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 21นายประทีป สมเนตร 20/3 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 22นางปลิว สุรินทร์ 38 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 23นางเล็ก นอบเผือก 43/2 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 24นางเฉลิม จีนพงษ์ 20 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 25นางสาวลำใย แสงอ่อน 24 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 26นางจวน เกิดทอง 66 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 27นางวันทอง ชำนาญต่าย 27/2 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 28นางลำดวน เดือนแก้ว 27 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 29นายมาก ทรัพย์มั่น 24/2 หมู่ 3 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก 30นางสาวบัวลอย ถมทอง 49/2 หมู่ 4 ต.พันเสา อ.บางระกำ จ.พิษณุโลก | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : ปัญหาอุปสรรค : ขาดความเข้าใจในกระบวนการปลูกผักแบบชีววิธี แนวทางแก้ไข : ให้ความรู้ในกระบวนการปลูกและการดูแล เป็นระยะขั้นตอน ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=152] วันที่รายงาน [13/1/2554] | |||
วันที่ 5 พฤศจิกายน 2553 เดินทางให้คำปรึกษาการปลูกผักปลอดสารพิษหลังน้ำท่วม วิธีการทำแปลงผัก ตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก วันที่15-16 พฤศจิกายน 2553 ให้คำปรึกษาด้านการดูแล การเก็บเกี่ยว ตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก วันที่19 พฤศจิกายน 2553 ประเมินโครงการและสรุปผลการดำเนินงาน ตำบลพันเสา อำเภอบางระกำ จังหวัดพิษณุโลก | ค่าใช้จ่าย : 17,979 จำนวนผู้รับบริการ : ปัญหาอุปสรรค : การจัดการด้านดินปลูกเกษตรกรยังไม่ให้ความสนใจ แนวทางแก้ไข : ให้ความรู้และปฏิบัติการในการเตรียมดินและมีการตรวจวิเคราะห์เพื่อให้ดินมีความอุดมสมบูรณ์ ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
2554 | |140,000||140,000 | 201239956321.pdf | 201239950231.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
2555 | 200,000|170,000|170,000|ใช้หมด | 201251510811.pdf | 2014341123501.pdf |
รายงานผลการดำเนินงาน | |||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 1 [IG=202] วันที่รายงาน [2/4/2555] | |||
ผลการดำเนินงาน 1.วันที่ 18-19 กุมภาพันธ์ 2555 การให้คำปรึกษาการจัดการแมลงศัตรูพืชในแปลงผัก ณ แปลงปลูกผักปลอดสารพิษ บ้านมะตูม ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก โดยให้ ดร.ยรรยง เฉลิมแสนและผศ.มนัส จูมี เป็นวิทยากรให้คำปรึกษา 2.วันที่ 29 มีนาคม 2555 แจ้งผลการพิจารณางบประมาณประจำปี 2555 ให้กลุ่มสมาชิกทราบและร่วมวางแผนการดำเนินงานและเตรียมพื้นที่จุดถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยให้ ดร.ยรรยง เฉลิมแสนและผศ.มนัส จูมี ผศ.พนอม ศรีวัฒนสมบัติ และนายดำรงค์ศักดิ์ สุวรรณศรีเป็นวิทยากรให้คำปรึกษาและชี้แจงขั้นตอนการดำเนินงาน | ค่าใช้จ่าย : จำนวนผู้รับบริการ : ปัญหาอุปสรรค : เกิดโรคและแมลงศัตรูพืชระบาด สาเหตุเกิดจากสภาพแวดล้อม ที่เปลี่ยนแปลง เช่นอุณหภูมิ แหล่งน้ำ แสงแดด ทำให้ผลิตผักได้น้อย แนวทางแก้ไข : ใช้สารชีวภาพที่ผลิตเองในการควบคุมแมลงและวางแผนการปลูกพืชที่ให้ผลผลิตและการเก็บเกี่ยวที่รวดเร็ว ทนต่อโรคระบาดได้ ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 2 [IG=251] วันที่รายงาน [15/6/2555] | |||
1. วันที่ 10 พฤษภาคม 2555 เดินทางไปประชุมวางแผนการผลิตและจัดเตรียมอุปกรณ์ผลิตผักปลอดสารพิษและประชาสัมพันธ์โครงการฯ ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านมะตูม ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 2.วันที่ 29 พฤษภาคม 2555 จัดกิจกรรมการทำปุ๋ยหมักชีวภาพในวงบ่อ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านมะตูม ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวนผู้ร่วมกิจกรรม 15 คน ผลที่ได้จากการดำเนินกิจกรรม สมาชิกมีความเข้าใจในการทำปุ๋ยหมักชีวภาพในวงบ่อ รู้วิธีการใช้ประโยชน์และปฏิบัติได้จริง 3.วันที่ 8 มิถุนายน 2555 กิจกรรมการผลิตผักปลอดสารพิษ ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน บ้านมะตูม ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก ผักที่ปลูกประกอบด้วย ผักบุ้ง มะเขือ มะละกอ บวบ พริก กวางตุ้ง ข้าวโพดอ่อน 4.วันที่ 17 มิถุนายน 2555 การถ่ายทอดเทคโนโลยี เรื่อง การผลิตกล้วยหอมทองเสริมรายได้การปลูกผัก ใน ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชน บ้านมะตูม ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก | ค่าใช้จ่าย : 29,580 จำนวนผู้รับบริการ : ปัญหาอุปสรรค : ช่วงฤดูการผลิตดังกล่าวฯฝนตกชุก ทำให้เพาะต้นกล้าไม่ขึ้นและตายเนื่องจากรากเน่า แนวทางแก้ไข : เพาะต้นกล้าในถาดเพาะและย้ายลงแปลงปลูก เมื่อต้นกล้าโตแล้ว ไฟล์แนบกิจกรรม : 20126151626341.pdf | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 3 [IG=400] วันที่รายงาน [28/9/2555] | |||
ผลการดำเนินงาน 1.วันที่ 23 มิถุนายน 2555 ซ่อมแซมศูนย์การเรียนรู้ ณ กลุ่มปลูกผักปลอดสารพิษ ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 2.วันที่ 6 กรกฎาคม 2555 อบรมการเพิ่มธาตุอาหารในดินและพืช เพื่อเพิ่มผลผลิตในการปลูกผัก ณ ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านมะตูม ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 15 คน 3.วันที่ 13 กรกฎาคม 2555 อบรม การทำน้ำหมักชีวภาพไล่แมลง ศูนย์เรียนรู้ชุมชนบ้านมะตูม ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 15 คน 4.วันที่ 6 สิงหาคม 2555 ติดตามผลและทดลองใช้น้ำหมักชีวภาพ 5.วันที่ 16-17 สิงหาคม 2555 จัดนิทรรศการผักปลอดสารพิษและจำหน่ายผลิตภัณฑ์ชุมชน ในงานเปิดรั้วราชมงคลล้านนา งานสัปดาห์วิทยาศาสตร์ ณ มทร.ล้านนา พิษณุโลก 6.วันที่ 24 สิงหาคม 2555 การจัดทำบัญชีรายรับ รายจ่ายอย่างง่ายในชุมชน 7.วันที่ 3 กันยายน 2555 สัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้แนวทางการยกระดับชุมชนเป็นชุมชนแม่ข่ายของหมู่บ้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ณ บ้านมะตูม ตำบลมะตูม อำเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 66 คน | ค่าใช้จ่าย : 92,050 จำนวนผู้รับบริการ : 48 ปัญหาอุปสรรค : ในฤดูกาลนี้เป็นช่วงที่ฝนตกชุกทำให้ไม่สามารถผลิตผักได้ แนวทางแก้ไข : ให้ปลูกผักที่ต้องการน้ำมากและลดการปลูกเพื่อเตรียมการปลูกในช่วงฤดูหนาว ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 4 [IG=472] วันที่รายงาน [29/11/2555] | |||
วันที่ 8,15 ตุลาคม 2555การถ่ายทอดเทคโนโลยีการควบคุมแมลงด้วยตัวห้ำ ตัวเบียน สมาชิกมีความเข้าใจการควบคุมแมลงและผลิตสารชีวภาพที่ควบคุมแมลงได้ วันที่ 2 พฤศจิกายน 2555 จัดทำศูนย์การเรียนรู้ชุมชนและรองรับการดูงานของเครือข่าย วันที่ 19 พฤศจิกายน 2555 การถ่ายทอดเทคโนโลยีการจัดการแปลงปลูกด้วยระบบนิเวศวิทยาในแปลงปลูก จัดการและวางแผนการผลิตผักได้ตามระบบ | ค่าใช้จ่าย : 42,000 จำนวนผู้รับบริการ : 15 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : | ||
รายงานความก้าวหน้าครั้งที่ 5 [IG=482] วันที่รายงาน [22/1/2556] | |||
วันที่ 7 ธันวาคม 2555 จัดทำศูนย์การเรียนรู้ชุมชนเพื่อรองรับการดูงานของเครือข่ายและการติดตามประเมินผลการดำเนินงาน | ค่าใช้จ่าย : 6,370 จำนวนผู้รับบริการ : 0 ปัญหาอุปสรรค : - แนวทางแก้ไข : - ไฟล์แนบกิจกรรม : |
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม โทรศัพท์ : 0-2333-3917,3918 โทรสาร 0-2333-3931
เนื้อหาในเว็บไซต์นี้ใช้สัญญาอนุญาต ครีเอทีฟคอมมอนส์ แสดงที่มา 3.0 ประเทศไทย สามารถทำซ้ำดัดแปลงและเผยแพร่ต่อได้ โดยไม่ต้องขออนุญาต ตราบเท่าที่ระบุว่ามาจากเว็บไซต์แห่งนี้
นโยบายคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล
สงวนลิขสิทธิ์ © 2565 สำนักส่งเสริมและถ่ายทอดเทคโนโลยี | Copyright © 2022 - All Rights Reserved - http://www.clinictech.ops.go.th
Template by OS Templates